ย้ำนะครับ มันเป็น "ทฤษฎี" ที่สามารถลบล้างได้
ไม่ใช่ "กฏ" ที่ไม่สามารถลบล้างได้
ทฤษฎีที่ว่านี้คือ
ทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะต้องมีเหตุจึงจะมีผล (ซึ่งตรงนี้ วิทยาศาสตร์ก็ยอมรับ, ศาสนาพุทธก็ยอมรับเช่นกัน)
แต่เนื่องจากในชีวิตของคนเรา มันมีหลายเหตุ และมีหลายผล ทำให้บางครั้ง เราจับคู่เหตุและผลผิดพลาดไป
ทำให้บางครั้งเรามักจะได้ยินว่า "ทำดีได้ชั่ว ทำชั่วได้ดี" ซึ่งจริงๆแล้วมันไม่ใช่
จริงๆแล้ว "ทำดีย่อมได้ดี ทำชั่วย่อมได้ชั่วเสมอ 100%" แต่เราต้องค่อยๆนั่งจับคู่เหตุและผลให้ถูกต้อง
เช่น
นาย ก ตั้งใจทำงานเต็มที่ แต่เจ้านายไม่เห็นความสำคัญ นาย ก จึงไม่ได้เลื่อนตำแหน่ง
นาย ก จึงบ่นกับตัวเองว่า "ทำไมทำดีถึงไม่ได้ดี"
ถ้าใช้ทฤษฎีนี้มาพิจารณา จะเห็นว่า
ที่นาย ก ไม่ได้เลื่อนตำแหน่งนั้น มันจะต้องมีเหตุอะไรก่อนหน้านี้ซ่อนอยู่ แต่นาย ก จับคู่ผิดไป
เพราะนาย ก ไปจับคู่ ความตั้งใจในการทำงาน(เหตุ) ไปคู่กับ การเลื่อนตำแหน่ง(ผล) ซึ่งอาจจะเป็นการจับคู่ที่ผิด โดยที่นาย ก ไม่รู้ตัว
ถ้านาย ก ลองนั่งจับคู่ใหม่ อาจจะพบว่า ที่เขาไม่ได้เลื่อนตำแหน่ง(ผล) อาจเป็นเพราะ...(เหตุ)...อะไรก็ว่าไป เป็นต้น
ท่านอื่นมีความคิดเห็นอย่างไรครับ
"ทำดีได้ดี 100% ทำชั่วได้ชั่ว 100%" ถ้าใช้ทฤษฎีนี้อธิบาย วิทยาศาสตร์จะยอมรับมั้ยครับ
ไม่ใช่ "กฏ" ที่ไม่สามารถลบล้างได้
ทฤษฎีที่ว่านี้คือ
ทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะต้องมีเหตุจึงจะมีผล (ซึ่งตรงนี้ วิทยาศาสตร์ก็ยอมรับ, ศาสนาพุทธก็ยอมรับเช่นกัน)
แต่เนื่องจากในชีวิตของคนเรา มันมีหลายเหตุ และมีหลายผล ทำให้บางครั้ง เราจับคู่เหตุและผลผิดพลาดไป
ทำให้บางครั้งเรามักจะได้ยินว่า "ทำดีได้ชั่ว ทำชั่วได้ดี" ซึ่งจริงๆแล้วมันไม่ใช่
จริงๆแล้ว "ทำดีย่อมได้ดี ทำชั่วย่อมได้ชั่วเสมอ 100%" แต่เราต้องค่อยๆนั่งจับคู่เหตุและผลให้ถูกต้อง
เช่น
นาย ก ตั้งใจทำงานเต็มที่ แต่เจ้านายไม่เห็นความสำคัญ นาย ก จึงไม่ได้เลื่อนตำแหน่ง
นาย ก จึงบ่นกับตัวเองว่า "ทำไมทำดีถึงไม่ได้ดี"
ถ้าใช้ทฤษฎีนี้มาพิจารณา จะเห็นว่า
ที่นาย ก ไม่ได้เลื่อนตำแหน่งนั้น มันจะต้องมีเหตุอะไรก่อนหน้านี้ซ่อนอยู่ แต่นาย ก จับคู่ผิดไป
เพราะนาย ก ไปจับคู่ ความตั้งใจในการทำงาน(เหตุ) ไปคู่กับ การเลื่อนตำแหน่ง(ผล) ซึ่งอาจจะเป็นการจับคู่ที่ผิด โดยที่นาย ก ไม่รู้ตัว
ถ้านาย ก ลองนั่งจับคู่ใหม่ อาจจะพบว่า ที่เขาไม่ได้เลื่อนตำแหน่ง(ผล) อาจเป็นเพราะ...(เหตุ)...อะไรก็ว่าไป เป็นต้น
ท่านอื่นมีความคิดเห็นอย่างไรครับ