ทำไมหลักสูตรด้านคอม-ไอที ในประเทศไทยถึงมีมากมายขนาดนี้ ผมไม่เข้าใจ จะผลิตมาเยอะ แต่ก็ไม่มีคุณภาพกัน แถมจบมางานแถบไม่ต่างกันมาแย่งงานกันทำ
ผมไม่เข้าใจน่ะว่าจะเปิดทำไม่กันเยอะแยะก็รู้ว่าจบมาก็ไปทำงานไม่ได้ต่างกันเลย ทั้ง วิศวะกรรมคอม วิทยาการคอม เทคโนโลยีสารสนเทศ(it) เทคโนโลยีคอม วิศวะกรรมซอฟต์แวร์ คอมธุรกิจ ระบบสารสนเทศธุรกิจ และอื่นๆอีก
ไม่นับพวกสายฟิวชั่นทั้ง คอมศึกษา(คอม+ครู) สารสนเทศศาสตร์(บรรณารัก+it) คอมมัลติ(คอม+ศิลปะ,นิเทศ) แต่พวกนี้ไม่นับล่ะกัน
ผมก็เข้าใจน่ะ
เช่น วิศวะคอม เน้น ฮาดแวร์ ดิจิตอล เครือข่ายคอม ไปทำงานก็ต้อง เกี่ยวกับ cpu อุปกรณ์คอม แต่ถามว่าประเทศไทยผลิตCPUขายไหมไหม อันนี้น่าคิด
วิทย์คอม เน้น ซอฟแวร์ ทฤษฏีทางคำนวนคอม อันก็เข้าใจว่า เป็นโปรแกรมเมอร์โดยตรง
คอมธุรกิจ เน้นใช้งานคอมเชิงธุรกิจ ก็เข้าใจว่าไปทำงานแนวบริหาร ก็ไปแย่งงานกับพวกสายบริหารธุรกิจ
ทั้งหมดจบก็ทำงานไม่หนีกัน------> โปรแกรมเมอร์ ผูแลระบบ ไอทีซับพอร์ต ทำเว็บ
และสิ่งที่ผมไม่เข้าใจ
เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรนี้มันเด่นตรงไหนมีความเป็นเอกลักษณ์เปิดมาทำไมทั้งที่ สาขาเป็ด ไม่เด่นสักอย่าง มีวิทย์คอมอยู่แล้ว แล้วจะเปิดมาทำไม
วิศวะกรรมซอฟต์แวร์ เข้าใจว่าเป็นส่วนนึงของวิทย์คอม แต่จบมาก็ไม่เห็นต่างจากวิทย์คอม
ระบบสารสนเทศธุรกิจ ก็ไม่เห็นต่างจากคอมธุรกิจ
แต่ทั้งหมดจบก็ทำงานไม่หนีกัน------> โปรแกรมเมอร์ ผูแลระบบ ไอทีซับพอร์ต ทำเว็บ
อาจจะมีคนบอกว่าเขาเปิดมาเพื่อให้ทำงานเชี่ยวชาญในแต่ละด้านของใครของมัน ทั้งที่จริงงานก็ไม่ได้หนีกัน หลักๆทั้งงาน โปรแกรมเมอร์ ไอทีซัพพอร์ต แอดมินเครือข่าย
แล้วจะเปิดทำไมกันมากมาย บางหลักสูตรเหมือนจะเป็นเพียงแค่หลักสูตรระยะสั้น ถ้าจะให้เน้นเฉพาะทางจริงๆ จบมาก็ให้ออกแค่ใบcerในด้านใครด้านมัน ก็น่าจะพอน่ะ แต่ก็มาทำเป็นหลักสูตรปริญญาตรี โท เอก ปั๊มกระดาษขายกันแบบเกลื่อนประเทศ ประเทศไทยหลงทางหรือป่าว งานด้านนี้ก็กระจุกตัวแต่ในเมืองใหญ่
ซึ่งสาขาทางคอม มันควรจะมีแค่ วิทย์คอม วิศวะคอม ขนาดงานราชการ ตำแหน่งนักวิชาการคอม ก็ดันรับสอบแค่ สาขาวิทย์คอม และวิศวะคอม ส่วนสาขาอื่นบอกไม่ใช่วุฒทางคอมไม่มีสิทธิ์
ในอนาคตถ้ามีเทคโนโลยีใหม่ๆมาก็ต้องเปิดหลักสูตรปริญาใหม่ให้เกลื่อน แถมเทคโนโลยีด้านนี้เปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก นักพัฒนาบางคนตามเทคโนโลยีไม่ทัน ต้องผันตัวเองไปทำอาชีพอื่น
ผมไม่เข้าใจจริง อธิบายให้ผมเข้าใจหน่อยครับ
ช่วยอธิบายหน่อย เกี่ยวกับหลักสูตรคอม-ไอทีในประเทศไทย ขอความคิดเห็นด้วย
ผมไม่เข้าใจน่ะว่าจะเปิดทำไม่กันเยอะแยะก็รู้ว่าจบมาก็ไปทำงานไม่ได้ต่างกันเลย ทั้ง วิศวะกรรมคอม วิทยาการคอม เทคโนโลยีสารสนเทศ(it) เทคโนโลยีคอม วิศวะกรรมซอฟต์แวร์ คอมธุรกิจ ระบบสารสนเทศธุรกิจ และอื่นๆอีก
ไม่นับพวกสายฟิวชั่นทั้ง คอมศึกษา(คอม+ครู) สารสนเทศศาสตร์(บรรณารัก+it) คอมมัลติ(คอม+ศิลปะ,นิเทศ) แต่พวกนี้ไม่นับล่ะกัน
ผมก็เข้าใจน่ะ
เช่น วิศวะคอม เน้น ฮาดแวร์ ดิจิตอล เครือข่ายคอม ไปทำงานก็ต้อง เกี่ยวกับ cpu อุปกรณ์คอม แต่ถามว่าประเทศไทยผลิตCPUขายไหมไหม อันนี้น่าคิด
วิทย์คอม เน้น ซอฟแวร์ ทฤษฏีทางคำนวนคอม อันก็เข้าใจว่า เป็นโปรแกรมเมอร์โดยตรง
คอมธุรกิจ เน้นใช้งานคอมเชิงธุรกิจ ก็เข้าใจว่าไปทำงานแนวบริหาร ก็ไปแย่งงานกับพวกสายบริหารธุรกิจ
ทั้งหมดจบก็ทำงานไม่หนีกัน------> โปรแกรมเมอร์ ผูแลระบบ ไอทีซับพอร์ต ทำเว็บ
และสิ่งที่ผมไม่เข้าใจ
เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรนี้มันเด่นตรงไหนมีความเป็นเอกลักษณ์เปิดมาทำไมทั้งที่ สาขาเป็ด ไม่เด่นสักอย่าง มีวิทย์คอมอยู่แล้ว แล้วจะเปิดมาทำไม
วิศวะกรรมซอฟต์แวร์ เข้าใจว่าเป็นส่วนนึงของวิทย์คอม แต่จบมาก็ไม่เห็นต่างจากวิทย์คอม
ระบบสารสนเทศธุรกิจ ก็ไม่เห็นต่างจากคอมธุรกิจ
แต่ทั้งหมดจบก็ทำงานไม่หนีกัน------> โปรแกรมเมอร์ ผูแลระบบ ไอทีซับพอร์ต ทำเว็บ
อาจจะมีคนบอกว่าเขาเปิดมาเพื่อให้ทำงานเชี่ยวชาญในแต่ละด้านของใครของมัน ทั้งที่จริงงานก็ไม่ได้หนีกัน หลักๆทั้งงาน โปรแกรมเมอร์ ไอทีซัพพอร์ต แอดมินเครือข่าย
แล้วจะเปิดทำไมกันมากมาย บางหลักสูตรเหมือนจะเป็นเพียงแค่หลักสูตรระยะสั้น ถ้าจะให้เน้นเฉพาะทางจริงๆ จบมาก็ให้ออกแค่ใบcerในด้านใครด้านมัน ก็น่าจะพอน่ะ แต่ก็มาทำเป็นหลักสูตรปริญญาตรี โท เอก ปั๊มกระดาษขายกันแบบเกลื่อนประเทศ ประเทศไทยหลงทางหรือป่าว งานด้านนี้ก็กระจุกตัวแต่ในเมืองใหญ่
ซึ่งสาขาทางคอม มันควรจะมีแค่ วิทย์คอม วิศวะคอม ขนาดงานราชการ ตำแหน่งนักวิชาการคอม ก็ดันรับสอบแค่ สาขาวิทย์คอม และวิศวะคอม ส่วนสาขาอื่นบอกไม่ใช่วุฒทางคอมไม่มีสิทธิ์
ในอนาคตถ้ามีเทคโนโลยีใหม่ๆมาก็ต้องเปิดหลักสูตรปริญาใหม่ให้เกลื่อน แถมเทคโนโลยีด้านนี้เปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก นักพัฒนาบางคนตามเทคโนโลยีไม่ทัน ต้องผันตัวเองไปทำอาชีพอื่น
ผมไม่เข้าใจจริง อธิบายให้ผมเข้าใจหน่อยครับ