จาก กระทู้
http://ppantip.com/topic/30136788/comment8
ความคิดเห็นที่ 8
ทิฏฐิ ใดนั้น คือเหตุ ที่ทำให้เกิดผล คือ " (บุคคล) นั่น คือ (พระโพธิสัตว์ ที่ออกเสียง ผ่านลำคอเช่นนั้น ว่า) --อวโลกิเตศวร --- กวนอิม -- กวานยิน -- คันนน --- แคนนอน --- ฯลฯ
^^^^
ข้างบน (ทิฏฐิ เสียงที่เปล่งออกมาจากกล่องเสียงเช่นนั้น เพราะ เกิดถิ่นนั้น ฯ)
สหายธรรมจีน พูดไทยแบบ"สำเนียงจีนๆ" สรุปในคำว่า "ซิมเก็ง" (หรือ ซิมเกง)
^^^^
"ซิมเก็ง" แปลไทยแบบ "ธรรมาทิษฐาน (อนัตตาทิฏฐิ) ไม่ใช่แบบ บุคคลาทิษฐาน (สัสสตทิฏฐิ)" ว่า ฝ่ายจิตใจ
ซิมเก็ง คือเรื่องของ ใจก็ไม่มี ฝุ่นก็ไม่มี แล้ว อะไร? จะจับอะไร จะเช็ดถูกอะไร ----> เนื่องกับ "คำสอนของ "เว่ยหล่าง หรือ ฮุยหนึ้ง" (ผิด ตก ยกเว้น) --- พุทธศาสนาฝ่ายมหายานจีน "นิกายเซน (ธญาณ- ฌาน แปลว่าเพ่ง) ฉับพลัน" (ตรงข้ามกับ พุทธศาสนามหายานจีน นิกาย สุขาวดี ฯ / เซนเชื่องช้า คำสอนของ "ชินเชา")
ซิมเก็ง (หรือซิมเกง) ดู
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%87&ie=utf-8&oe=utf-8&aq=t&rls=org.mozilla:en-US:official&client=firefox-a
(๑)
http://mahayarn.exteen.com/20080518/entry
ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตรเป็นหนึ่งในสามพระสูตรสำคัญของมหายาน ซึ่งสอนเรื่องของความว่าง หรือ สุนยตา (คือ สุญญตา / ดู จูฬสุญญตสูตร) เป็นพระสูตรที่มีความยาวเพียง 268 ตัวอักษร
พระสูตรนี้ได้รับการถ่ายทอดออกเป็นภาษาจีนในราว พ.ศ.1202 โดยท่าน เฮียงจั่น หรือ ท่านพระถังซำจั๋ง โดยอาศัยต้นฉบับจากภาษาสันสกฤตซึ่งเป็นภาษาหลักที่ฝ่ายมหายานยึดเป็นหลักอยู่นั่นเอง โดยพระสูตรนี้มักเรียกสั้นๆว่า “สูตรหัวใจ” หรือ “ซิมเกง” เป็นพระสูตรที่มีความยาว 265 ตัวอักษร จัดอยู่ในหมวดปรัชญา ( ในราชวงศ์เหม็งได้แบ่งพระสูตรมหายานออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ หมวดอวตสกะ หมวดไวปุลยะ หมวดปรัชญา หมวดสัทธรรมปุณฑริก และหมวดปรินิรวาณา )
ประเด็นสนทนา
ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร เป็น สาวกภาษิต (สมันนั้น) --- เนื่องกับ "พระสูตรใด ตามที่พระเถระครั้งปฐมสังคายนา รักษามา" ?
ซิมเก็ง (จากปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร) เนื่องกับ "พระพุทธภาษิต" ใด?
http://ppantip.com/topic/30136788/comment8
ความคิดเห็นที่ 8
ทิฏฐิ ใดนั้น คือเหตุ ที่ทำให้เกิดผล คือ " (บุคคล) นั่น คือ (พระโพธิสัตว์ ที่ออกเสียง ผ่านลำคอเช่นนั้น ว่า) --อวโลกิเตศวร --- กวนอิม -- กวานยิน -- คันนน --- แคนนอน --- ฯลฯ
^^^^
ข้างบน (ทิฏฐิ เสียงที่เปล่งออกมาจากกล่องเสียงเช่นนั้น เพราะ เกิดถิ่นนั้น ฯ)
สหายธรรมจีน พูดไทยแบบ"สำเนียงจีนๆ" สรุปในคำว่า "ซิมเก็ง" (หรือ ซิมเกง)
^^^^
"ซิมเก็ง" แปลไทยแบบ "ธรรมาทิษฐาน (อนัตตาทิฏฐิ) ไม่ใช่แบบ บุคคลาทิษฐาน (สัสสตทิฏฐิ)" ว่า ฝ่ายจิตใจ
ซิมเก็ง คือเรื่องของ ใจก็ไม่มี ฝุ่นก็ไม่มี แล้ว อะไร? จะจับอะไร จะเช็ดถูกอะไร ----> เนื่องกับ "คำสอนของ "เว่ยหล่าง หรือ ฮุยหนึ้ง" (ผิด ตก ยกเว้น) --- พุทธศาสนาฝ่ายมหายานจีน "นิกายเซน (ธญาณ- ฌาน แปลว่าเพ่ง) ฉับพลัน" (ตรงข้ามกับ พุทธศาสนามหายานจีน นิกาย สุขาวดี ฯ / เซนเชื่องช้า คำสอนของ "ชินเชา")
ซิมเก็ง (หรือซิมเกง) ดู
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%87&ie=utf-8&oe=utf-8&aq=t&rls=org.mozilla:en-US:official&client=firefox-a
(๑)
http://mahayarn.exteen.com/20080518/entry
ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตรเป็นหนึ่งในสามพระสูตรสำคัญของมหายาน ซึ่งสอนเรื่องของความว่าง หรือ สุนยตา (คือ สุญญตา / ดู จูฬสุญญตสูตร) เป็นพระสูตรที่มีความยาวเพียง 268 ตัวอักษร
พระสูตรนี้ได้รับการถ่ายทอดออกเป็นภาษาจีนในราว พ.ศ.1202 โดยท่าน เฮียงจั่น หรือ ท่านพระถังซำจั๋ง โดยอาศัยต้นฉบับจากภาษาสันสกฤตซึ่งเป็นภาษาหลักที่ฝ่ายมหายานยึดเป็นหลักอยู่นั่นเอง โดยพระสูตรนี้มักเรียกสั้นๆว่า “สูตรหัวใจ” หรือ “ซิมเกง” เป็นพระสูตรที่มีความยาว 265 ตัวอักษร จัดอยู่ในหมวดปรัชญา ( ในราชวงศ์เหม็งได้แบ่งพระสูตรมหายานออกเป็น 5 หมวดใหญ่คือ หมวดอวตสกะ หมวดไวปุลยะ หมวดปรัชญา หมวดสัทธรรมปุณฑริก และหมวดปรินิรวาณา )
ประเด็นสนทนา
ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร เป็น สาวกภาษิต (สมันนั้น) --- เนื่องกับ "พระสูตรใด ตามที่พระเถระครั้งปฐมสังคายนา รักษามา" ?