พระอภิธรรมปิฏก อภิธัมมัตถสังคหะ กับ อภิธรรม7คัมภีร์ ->
-> (ส่วนที่ พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงโปรดพุทธมารดา อันเดียวกับที่ใช้สวดในงานศพ) เนื้อหาต่างกัน
มีข้อธรรมบางอย่างเกี่ยวเนื่องกันก็จริง แต่ไม่ใช้อันเดียวกัน ต้องแยกแยะให้ชัดเจน
1. พระอภิธรรมปิฏก คือ ส่วนหนึ่ง ของพระไตรปิฏก คือ ส่วนอธิบายคำศัพท์ อธิบายความหมาย หลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชา ล้วนๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์
http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/
2. อภิธัมมัตถสังคหะ คือ ส่วนที่แต่งขึ้นใหม่ มี 9ปริเฉท เป็นผลงานของพระอนุรุทธาจารย์ ชาวอินเดียใต้ (บางแห่งกล่าวว่าเป็นชาวลังกา)
ไม่ปรากฏแน่ชัดว่า แต่งขึ้นเมื่อใด แต่สันนิษฐานว่า คงแต่งขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๐
ในสมัยเดียวกับที่ พระพุทธโฆษาจารย์ แต่งคัมภีร์วิสุทธิมรรค
เนื้อหา คือการ อธิบายสภาวะธรรม จิต เจตสิก รูป ความสัมพันธ์ของหลักธรรม ข้อธรรม
*เน้นการอธิบายเป็นหลัก *ไม่เน้นการสอนให้บรรลุธรรมโดยตรง
http://abhidhamonline.org/SamgahaPali.htm
3. อภิธรรม7คัมภีร์ คือส่วนที่ พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงโปรดพุทธมารดา และเหล่าเทวดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
(ส่วนตัวผมเชื่อว่าจริง แต่คนละส่วนกับ พระอภิธรรมปิฎก ในส่วนที่ผมเชื่อ ขอแสดงในภายหลัง)
ตำราที่แต่งขึ้นในภายหลัง ปฐมสังคายนา ได้แก่ ๑. มิลินทปัญหา ๒. วิสุทธิมรรค ๓. อภิธัมมัตถสังคหะ
ตัวอย่าง อภิธรรมปิฏก http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd34.htm
หน้ารวม
http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๔ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๑ ธัมมสังคนี
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี ติกมาติกา
๔. อุปาทินนติกะ
[๔] อุปาทินฺนุปาทานิยา ธมฺมา. สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึด
ถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน (๙๙๔,๑๓๙๓)
อนุปาทินฺนุปาทานิยา ธมฺมา. สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน (๙๙๕,๑๓๙๔)
อนุปาทินฺนานุปาทานิยา ธมฺมา. สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิไม่ยึด
ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน (๙๙๖,๑๓๙๕)
ตัวอย่าง อภิธรรม7คัมภีร์ ที่นิยมสวดในงานศพ มี ๗ คัมภีร์”
พระสังคิณี
กุสะลา ธัมมา, พระธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข
อะกุสะลา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล, ให้ผลเป็นความทุกข์,
อัพ๎ยากะตา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต, เป็นจิตกลาง ๆ อยู่,
กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่าใดเป็นกุศล
ยัส๎ะมิง สะมะเย, ในสมัยใด,
กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติโสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง, กามาวจรกุศลจิตที่ร่วมด้วยโสมนัส, คือความยินดี, ประกอบด้วยญาน คือ ปัญญาเกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใด ๆ,
รูปารัมมะนัง วา, จะเป็นรูปารมณ์, คือยินดีในรูปเป็นอารมณ์ก็ดี,
สัททารัมมะนัง วา, จะเป็นสัททารมณ์, คือยินดีในเสียงเป็นอารมณ์ก็ดี,
คันธารัมมะนัง วา, จะเป็นคันธารมณ์, คือยินดีในกลิ่นเป็นอารมณ์ก็ดี,
ระสารัมมะนัง วา, จะเป็นรสารมณ์, คือยินดีในรสเป็นอารมณ์ก็ดี,
โผฏฐัพพารัมมะนัง วา, จะเป็นโผฏฐัพพารมณ์, คือยินดีในสิ่งที่กระทบถูกต้องกายเป็นอารมณ์ก็ดี,
ธัมมารัมมะนัง วา ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ, จะเป็นธรรมารมณ์, คือยินดีในธรรมเป็นอารมณ์ก็ดี,
ตัส๎ะมิง สะมะเย ผัสโส โหติ, อะวิกเขโป โหติ, เย วา ปะนะ ตัส๎ะมิง สะมะเย, อัญเญปิ อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา อะรูปิโน ธัมมา, ในสมัยนั้นผัสสะและความไม่ฟุ้งซ่านย่อมมี, อีกอย่างหนึ่ง ในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใด, แม้อื่นมีอยู่เป็นธรรมที่ไม่มีรูป, อาศัยกันและกันเกิดขึ้น,
อิเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข
ความเข้าใจถึงความแตกต่าง ระหว่าง อภิธรรมทั้ง 3อย่าง
-> (ส่วนที่ พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงโปรดพุทธมารดา อันเดียวกับที่ใช้สวดในงานศพ) เนื้อหาต่างกัน
มีข้อธรรมบางอย่างเกี่ยวเนื่องกันก็จริง แต่ไม่ใช้อันเดียวกัน ต้องแยกแยะให้ชัดเจน
1. พระอภิธรรมปิฏก คือ ส่วนหนึ่ง ของพระไตรปิฏก คือ ส่วนอธิบายคำศัพท์ อธิบายความหมาย หลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชา ล้วนๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์
http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/
2. อภิธัมมัตถสังคหะ คือ ส่วนที่แต่งขึ้นใหม่ มี 9ปริเฉท เป็นผลงานของพระอนุรุทธาจารย์ ชาวอินเดียใต้ (บางแห่งกล่าวว่าเป็นชาวลังกา)
ไม่ปรากฏแน่ชัดว่า แต่งขึ้นเมื่อใด แต่สันนิษฐานว่า คงแต่งขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๐
ในสมัยเดียวกับที่ พระพุทธโฆษาจารย์ แต่งคัมภีร์วิสุทธิมรรค
เนื้อหา คือการ อธิบายสภาวะธรรม จิต เจตสิก รูป ความสัมพันธ์ของหลักธรรม ข้อธรรม
*เน้นการอธิบายเป็นหลัก *ไม่เน้นการสอนให้บรรลุธรรมโดยตรง
http://abhidhamonline.org/SamgahaPali.htm
3. อภิธรรม7คัมภีร์ คือส่วนที่ พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงโปรดพุทธมารดา และเหล่าเทวดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
(ส่วนตัวผมเชื่อว่าจริง แต่คนละส่วนกับ พระอภิธรรมปิฎก ในส่วนที่ผมเชื่อ ขอแสดงในภายหลัง)
ตำราที่แต่งขึ้นในภายหลัง ปฐมสังคายนา ได้แก่ ๑. มิลินทปัญหา ๒. วิสุทธิมรรค ๓. อภิธัมมัตถสังคหะ
ตัวอย่าง อภิธรรมปิฏก http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd34.htm
หน้ารวม http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๔ อภิธรรมปิฎกที่ ๐๑ ธัมมสังคนี
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมสังคณี ติกมาติกา
๔. อุปาทินนติกะ
[๔] อุปาทินฺนุปาทานิยา ธมฺมา. สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิยึด
ถือและเป็นอารมณ์ของอุปาทาน (๙๙๔,๑๓๙๓)
อนุปาทินฺนุปาทานิยา ธมฺมา. สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาและทิฏฐิ
ไม่ยึดถือแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน (๙๙๕,๑๓๙๔)
อนุปาทินฺนานุปาทานิยา ธมฺมา. สภาวธรรมที่กรรมอันประกอบด้วยตัณหาทิฏฐิไม่ยึด
ถือและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน (๙๙๖,๑๓๙๕)
ตัวอย่าง อภิธรรม7คัมภีร์ ที่นิยมสวดในงานศพ มี ๗ คัมภีร์”
พระสังคิณี
กุสะลา ธัมมา, พระธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข
อะกุสะลา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล, ให้ผลเป็นความทุกข์,
อัพ๎ยากะตา ธัมมา, ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต, เป็นจิตกลาง ๆ อยู่,
กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่าใดเป็นกุศล
ยัส๎ะมิง สะมะเย, ในสมัยใด,
กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติโสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง, กามาวจรกุศลจิตที่ร่วมด้วยโสมนัส, คือความยินดี, ประกอบด้วยญาน คือ ปัญญาเกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใด ๆ,
รูปารัมมะนัง วา, จะเป็นรูปารมณ์, คือยินดีในรูปเป็นอารมณ์ก็ดี,
สัททารัมมะนัง วา, จะเป็นสัททารมณ์, คือยินดีในเสียงเป็นอารมณ์ก็ดี,
คันธารัมมะนัง วา, จะเป็นคันธารมณ์, คือยินดีในกลิ่นเป็นอารมณ์ก็ดี,
ระสารัมมะนัง วา, จะเป็นรสารมณ์, คือยินดีในรสเป็นอารมณ์ก็ดี,
โผฏฐัพพารัมมะนัง วา, จะเป็นโผฏฐัพพารมณ์, คือยินดีในสิ่งที่กระทบถูกต้องกายเป็นอารมณ์ก็ดี,
ธัมมารัมมะนัง วา ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ, จะเป็นธรรมารมณ์, คือยินดีในธรรมเป็นอารมณ์ก็ดี,
ตัส๎ะมิง สะมะเย ผัสโส โหติ, อะวิกเขโป โหติ, เย วา ปะนะ ตัส๎ะมิง สะมะเย, อัญเญปิ อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา อะรูปิโน ธัมมา, ในสมัยนั้นผัสสะและความไม่ฟุ้งซ่านย่อมมี, อีกอย่างหนึ่ง ในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใด, แม้อื่นมีอยู่เป็นธรรมที่ไม่มีรูป, อาศัยกันและกันเกิดขึ้น,
อิเม ธัมมา กุสะลา, ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล, ให้ผลเป็นความสุข