ต่างชาติแห่มาลงทุนประเทศไทย จนที่ดินที่จะนำมาสร้างเป็นนิคมอุตไม่เพียงพอ ขึ้นราคาที่ดินเพิ่มอีก10% โดยเฉพาะญี่ปุ่นประสบปัญหาพลังงานไฟฟ้าที่โดนสินามิเสียหาย จึงย้ายฐานส่วนใหญ่มาไทย
เพราะประเทศไทย น้ำไหล ไฟสว่าง ถนนดี อินเตอร์เน้ตพร้อม แรงงานคุณภาพ ที่สำคัญ ธรรมชาติสวยงาน
ไหนครับ แมงสาป สลิ่ม ที่บอกว่า นายกกู้มาๆๆๆ แล้วชาติจะล้มละลาย ต่างชาติกับมองว่าประเทศไทยมีเศรษฐกิจมั่นคง อิ อิ
วันนี้(17 ม.ค.) นายทวิช เตชะนาวากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัทไทยอินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด ผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมไฮเทค(บ้านหว้า) และเลขาธิการสมาคมนิคมอุตสาหกรรมไทยและพันธมิตร เปิดเผยว่า ในปี 56 มีแนวโน้มที่ผู้พัฒนานิคมฯ, เขตประกอบการอุตสาหกรรมจะปรับราคาขายพื้นที่ดินขั้นต่ำ 5-10% เนื่องจากพื้นที่เริ่มมีจำกัดและที่ดินราคาเริ่มสูงทำให้นิคมฯเกิดใหม่มีไม่มากโดยเฉพาะพื้นที่ในแถบภาคตะวันออก
“ช่วงนี้การตั้งนิคมฯใหม่ต้องผ่านหลายขั้นตอน ที่ดินเองก็จำกัดและหายากขึ้น เมื่อพื้นที่ตั้งโรงงานมีจำกัดแต่ความต้องการลงทุนยังสูงก็ทำให้ราคาที่ดินโดยรวมเริ่มขยับ ดังนั้นผู้พัฒนานิคมฯเองก็จะต้องขึ้นราคาขายโดยเฉพาะพื้นที่ทำเลทองแถบภาคตะวันออกอย่างจังหวัดระยองและ ชลบุรี”
สำหรับภาพรวมปี 56 จะยังคงเป็นปีทองต่อเนื่องของผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมของไทยโดยคาดว่าจะมียอดขายพื้นที่รวมทั่วประเทศไม่น้อยกว่า 5,000 ไร่เช่นเดียวกับปี 55 ที่ยอดขายพื้นที่ของนิคมฯมีประมาณ 5,000 ไร่เพราะนักลงทุนยังคงมีการลงทุนต่อเนื่องโดยเฉพาะญี่ปุ่นที่ยังคงมีการย้ายฐานมาเพราะมีปัญหาขาดแคลนแรงงาน รวมถึงพลังงานหลังจากระบบผลิตไฟฟ้านิวเคลียร์ประสบปัญหาจากภัยสึนามิ และคาดว่าการลงทุนจะมีการขยายตัวอีกต่อเนื่องในปีนี้แม้ว่าเศรษฐกิจโลกจะซบเซาก็ตามเนื่องจากรองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ในปี 58
แหล่งข่าวจากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(กนอ.)กล่าวว่า อนาคตพื้นที่การพัฒนานิคมฯไทยจะจำกัดลงแต่การลงทุนเชื่อว่าจะยังคงขยายตัวสูงเพราะไทยจะเป็นฐานการลงทุนสำคัญเพื่อขยายการค้าและการลงทุนไปยังประเทศเพื่อนบ้านเพื่อรับกับตลาดเออีซีที่จะมีประชากรกว่า 600 ล้านคน ทำให้ในระยะยาวผู้ประกอบการพัฒนานิคมฯ จะหันมาให้เช่าพื้นที่แทนการขายขาดมากขึ้น เพื่อคงความเป็นเจ้าของเอาไว้และป้องกันไม่ให้ต่างชาติเข้ายึดพื้นที่ทำเลทองเอาไว้แทน
ขณะเดียวกันทราบว่าในปี 56 ผู้พัฒนานิคมฯ หลายแห่งได้วางแผนเพิ่มราคาขายที่ดินในนิคมและเขตประกอบการอุตสาหกรรมขึ้นอีก ซึ่งเป็นการปรับราคาขึ้นตามต้นทุนค่าใช้จ่ายลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค ค่าภาษีที่ดิน โดยในภาพตะวันออกจะปรับเพิ่มในสัดส่วนสูงสุดเพราะเป็นแหล่งที่ต่างชาติให้ความสนใจมาก และไม่มีปัญหาเรื่องของน้ำท่วมด้วย
นิคมอุตฯไม่พอรองรับทุนข้ามชาติ ที่ดินในนิคมขึ้น10% ต่างชาติมองไทยพร้อมที่สุด ทั้งสาธารณูปโภคและธรรมชาติโดยเฉพาะยุ่นปี่
เพราะประเทศไทย น้ำไหล ไฟสว่าง ถนนดี อินเตอร์เน้ตพร้อม แรงงานคุณภาพ ที่สำคัญ ธรรมชาติสวยงาน
ไหนครับ แมงสาป สลิ่ม ที่บอกว่า นายกกู้มาๆๆๆ แล้วชาติจะล้มละลาย ต่างชาติกับมองว่าประเทศไทยมีเศรษฐกิจมั่นคง อิ อิ
วันนี้(17 ม.ค.) นายทวิช เตชะนาวากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัทไทยอินดัสเตรียล เอสเตท จำกัด ผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมไฮเทค(บ้านหว้า) และเลขาธิการสมาคมนิคมอุตสาหกรรมไทยและพันธมิตร เปิดเผยว่า ในปี 56 มีแนวโน้มที่ผู้พัฒนานิคมฯ, เขตประกอบการอุตสาหกรรมจะปรับราคาขายพื้นที่ดินขั้นต่ำ 5-10% เนื่องจากพื้นที่เริ่มมีจำกัดและที่ดินราคาเริ่มสูงทำให้นิคมฯเกิดใหม่มีไม่มากโดยเฉพาะพื้นที่ในแถบภาคตะวันออก
“ช่วงนี้การตั้งนิคมฯใหม่ต้องผ่านหลายขั้นตอน ที่ดินเองก็จำกัดและหายากขึ้น เมื่อพื้นที่ตั้งโรงงานมีจำกัดแต่ความต้องการลงทุนยังสูงก็ทำให้ราคาที่ดินโดยรวมเริ่มขยับ ดังนั้นผู้พัฒนานิคมฯเองก็จะต้องขึ้นราคาขายโดยเฉพาะพื้นที่ทำเลทองแถบภาคตะวันออกอย่างจังหวัดระยองและ ชลบุรี”
สำหรับภาพรวมปี 56 จะยังคงเป็นปีทองต่อเนื่องของผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมของไทยโดยคาดว่าจะมียอดขายพื้นที่รวมทั่วประเทศไม่น้อยกว่า 5,000 ไร่เช่นเดียวกับปี 55 ที่ยอดขายพื้นที่ของนิคมฯมีประมาณ 5,000 ไร่เพราะนักลงทุนยังคงมีการลงทุนต่อเนื่องโดยเฉพาะญี่ปุ่นที่ยังคงมีการย้ายฐานมาเพราะมีปัญหาขาดแคลนแรงงาน รวมถึงพลังงานหลังจากระบบผลิตไฟฟ้านิวเคลียร์ประสบปัญหาจากภัยสึนามิ และคาดว่าการลงทุนจะมีการขยายตัวอีกต่อเนื่องในปีนี้แม้ว่าเศรษฐกิจโลกจะซบเซาก็ตามเนื่องจากรองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ในปี 58
แหล่งข่าวจากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(กนอ.)กล่าวว่า อนาคตพื้นที่การพัฒนานิคมฯไทยจะจำกัดลงแต่การลงทุนเชื่อว่าจะยังคงขยายตัวสูงเพราะไทยจะเป็นฐานการลงทุนสำคัญเพื่อขยายการค้าและการลงทุนไปยังประเทศเพื่อนบ้านเพื่อรับกับตลาดเออีซีที่จะมีประชากรกว่า 600 ล้านคน ทำให้ในระยะยาวผู้ประกอบการพัฒนานิคมฯ จะหันมาให้เช่าพื้นที่แทนการขายขาดมากขึ้น เพื่อคงความเป็นเจ้าของเอาไว้และป้องกันไม่ให้ต่างชาติเข้ายึดพื้นที่ทำเลทองเอาไว้แทน
ขณะเดียวกันทราบว่าในปี 56 ผู้พัฒนานิคมฯ หลายแห่งได้วางแผนเพิ่มราคาขายที่ดินในนิคมและเขตประกอบการอุตสาหกรรมขึ้นอีก ซึ่งเป็นการปรับราคาขึ้นตามต้นทุนค่าใช้จ่ายลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค ค่าภาษีที่ดิน โดยในภาพตะวันออกจะปรับเพิ่มในสัดส่วนสูงสุดเพราะเป็นแหล่งที่ต่างชาติให้ความสนใจมาก และไม่มีปัญหาเรื่องของน้ำท่วมด้วย