คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 9
วันก่อนนั่งคุยกับอาจารย์รุ่นที่ทันก่อนยุคบัตรทองเกี่ยวกับการรักษามะเร็งนั้นทำให้ได้รู็ว่าสมัยก่อนกับสมัยนี้ที่จริงคนไข้ได้รับการรักษาทั่วถึงพอกัน แต่ คุณภาพกลับลดลง
ที่เป็นอย่างนี้เพราะเดิม คนมีเงินจ่ายเต็ม คนพอมีจ่ายบางส่วน คนจนสังคมสงเคราะห์รับผิดชอบให้
ส่วนในตอนนี้
คนรวยไม่ต้องจ่าย แต่คนรวยมีปัญญาจ่ายการรักษาที่แพงกว่า กรณีที่การรักษานั้นดีกว่า
คนพอมีไม่ต้องจ่ายและเชื่อว่าสิ่งที่ได้ดีที่สุด ทั้งๆที่ไม่ใช่ แน่นอนอาจพอจ่ายการรักษาดีๆได้
คนจนได้เท่าที่รัฐบาลอนุมัติ ไม่มีโอกาสเข้าถึงการรักษาดีๆได้เพราะสังคมสงเคราะห์ถูกเปลี่ยนบทบาทไป
ผมชอบรูปที่แชร์กันครับว่า ความเท่าเทียม ไม่ได้เท่ากับ ความยุติธรรม
คำพูดหนึ่งที่ผมชอบจากที่ฟังจากอาจารย์คือ ปัจจุบันคนแกล้งจนมากขึ้นรัฐจึงต้องเอาเงินมาอุ้มคนที่ไม่ได้จนด้วย แทนที่เม็ดเงินทั้งหมดจะตกแก่คนจนจริงๆ
ลองเปลี่ยนงบ 40000 ล้านต่อปีสำหรับคน 47 ล้านคน เป็น 40000 บาทสำหรับ 30 ล้านคนที่จนจริงๆดูสิครับ ให้อีก 16 ล้านคนที่พอมีจ่ายบางส่วน แล้วอีก 1 ล้านคนที่รวยแต่มีสิทธิบัตรทองจ่ายเต็ม แล้วจะรู้ว่ามันทำอะไรได้มากขึ้น
ปล.แม้ว่าเรื่องเงินทุกรัฐบาลก็ทำแบบเดียวกัน แต่ สิ่งที่เป็นปัญหาอย่างหนึ่งคือ นโยบายบัตรทองนั้นโฆษณาว่าดีทั้งที่ไม่ใช่ ปิดหูปืดตากันไป ปากบอกประชาชนว่าดีได้มาตรฐาน แต่ กลับบอกหมอว่าการรักษาที่เป็นมาตรฐานไม่คุ้มค่าในบริบทสังคมไทยจึงไม่อนุมัติ
ที่เป็นอย่างนี้เพราะเดิม คนมีเงินจ่ายเต็ม คนพอมีจ่ายบางส่วน คนจนสังคมสงเคราะห์รับผิดชอบให้
ส่วนในตอนนี้
คนรวยไม่ต้องจ่าย แต่คนรวยมีปัญญาจ่ายการรักษาที่แพงกว่า กรณีที่การรักษานั้นดีกว่า
คนพอมีไม่ต้องจ่ายและเชื่อว่าสิ่งที่ได้ดีที่สุด ทั้งๆที่ไม่ใช่ แน่นอนอาจพอจ่ายการรักษาดีๆได้
คนจนได้เท่าที่รัฐบาลอนุมัติ ไม่มีโอกาสเข้าถึงการรักษาดีๆได้เพราะสังคมสงเคราะห์ถูกเปลี่ยนบทบาทไป
ผมชอบรูปที่แชร์กันครับว่า ความเท่าเทียม ไม่ได้เท่ากับ ความยุติธรรม
คำพูดหนึ่งที่ผมชอบจากที่ฟังจากอาจารย์คือ ปัจจุบันคนแกล้งจนมากขึ้นรัฐจึงต้องเอาเงินมาอุ้มคนที่ไม่ได้จนด้วย แทนที่เม็ดเงินทั้งหมดจะตกแก่คนจนจริงๆ
ลองเปลี่ยนงบ 40000 ล้านต่อปีสำหรับคน 47 ล้านคน เป็น 40000 บาทสำหรับ 30 ล้านคนที่จนจริงๆดูสิครับ ให้อีก 16 ล้านคนที่พอมีจ่ายบางส่วน แล้วอีก 1 ล้านคนที่รวยแต่มีสิทธิบัตรทองจ่ายเต็ม แล้วจะรู้ว่ามันทำอะไรได้มากขึ้น
ปล.แม้ว่าเรื่องเงินทุกรัฐบาลก็ทำแบบเดียวกัน แต่ สิ่งที่เป็นปัญหาอย่างหนึ่งคือ นโยบายบัตรทองนั้นโฆษณาว่าดีทั้งที่ไม่ใช่ ปิดหูปืดตากันไป ปากบอกประชาชนว่าดีได้มาตรฐาน แต่ กลับบอกหมอว่าการรักษาที่เป็นมาตรฐานไม่คุ้มค่าในบริบทสังคมไทยจึงไม่อนุมัติ
ความคิดเห็นที่ 1
ผอ.คือฝ่ายบริหาร ผมแปลกใจครับ ว่า ทำไมหมอต้องเป็นผอ.ด้วยทั้งที่ไม่ได้เรียนบริหารมาเลย
ยิ่งรพ.เล็ก ผอ.หนุ่มมากๆ
ทำให้เสียกำลังพล(หมอ)ไปเยอะมากๆ
มีผู้รู้บอกไว้ว่า "หมอคืออาชีพที่ปกครองยากที่สุด" เพาะอีโก้สูง คิดว่าตัวเองฉลาดกว่าคนธรรมดา(เป้นเทวดา) นั่นเอง
ถ้าเอานักบริหารมือาชีพมารับไม่ได้ที่จะเป็นลูกน้องเขานั่นเอง
ยิ่งรพ.เล็ก ผอ.หนุ่มมากๆ
ทำให้เสียกำลังพล(หมอ)ไปเยอะมากๆ
มีผู้รู้บอกไว้ว่า "หมอคืออาชีพที่ปกครองยากที่สุด" เพาะอีโก้สูง คิดว่าตัวเองฉลาดกว่าคนธรรมดา(เป้นเทวดา) นั่นเอง
ถ้าเอานักบริหารมือาชีพมารับไม่ได้ที่จะเป็นลูกน้องเขานั่นเอง
ความคิดเห็นที่ 24
การร่วมจ่ายจะเป็นทางรอดของวิกฤติ.. ที่ผมย้ำมาตลอด.. มาหลายปีแล้ว
- จ่ายหัวละ 100 บาท / visit เมื่อมา รพ.ในเวลาราชการ ยกเว้นเคสฉุกเฉิน
- จ่ายหัวละ 300 บาท / visit เมื่อมา รพ.นอกเวลาราชการ ยกเว้นเคสฉุกเฉิน
จะได้ screen คนไข้พวกที่เจ็บป่วยเล็กน้อยที่น่าจะดูแลตนเองในเบื้องต้นได้ ..
บางคนเป็นหวัด เดินไปซื้อยาแก้ไข้ ยาลดน้ำมูกกินไม่เกิน 3 วันก็หาย..
- จ่ายหัวละ 100 บาท / visit เมื่อมา รพ.ในเวลาราชการ ยกเว้นเคสฉุกเฉิน
- จ่ายหัวละ 300 บาท / visit เมื่อมา รพ.นอกเวลาราชการ ยกเว้นเคสฉุกเฉิน
จะได้ screen คนไข้พวกที่เจ็บป่วยเล็กน้อยที่น่าจะดูแลตนเองในเบื้องต้นได้ ..
บางคนเป็นหวัด เดินไปซื้อยาแก้ไข้ ยาลดน้ำมูกกินไม่เกิน 3 วันก็หาย..
แสดงความคิดเห็น
รพ รัฐ ภาระงานขนาดนี้ มากหรือน้อย เช้าชามเย็นชามไหม
รพ ขนาดเล็กประจำอำเภอ 30 เตียง หมอ 3 คน รวม ผอ. แน่นอน ผอ. ก็มีภาระงานของท่าน ทำให้ช่วยตรวจคนไข้ได้น้อย
ยอดทั้งปี ผู้ป่วยนอก 80,000 คน คิดเป็น 6,666 คนต่อเดือน 222 คน ต่อวัน ค่าใช้จ่ายเฉพาะผู้ป่วยนอก ทั้งหมด 20 ล้านบาท
คิดเป็น 250 บาทต่อครั้ง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สถานการณ์ปัจจุบัน กระทรวงสาธารณะสุข กำลังโดนแช่แข็งโดยรัฐบาล โดนตัดงบ 5% และ freeze งบเท่านี้ 3 ปี ทั้งๆที่ ต้องเพิ่มค่าแรง 300 บาท และเงินเดือน 1.5 หมื่น โครงการนี้มีผลบังคับกับหน่วยงานรัฐก่อนเลย(แต่รอตกเบิก) ค่าแรงเพิ่มขึ้น แต่งบโดนตัด 5%
งบกระทรวงสาธารณะสุข ประมาณ 1.2 แสนล้าน หลังจากหักค่าแรง ค่าเสื่อม ค่าสิ่งก่อสร้าง เหลือเงินมาถึงประชาชน แค่ 4 หมื่นล้าน
ทำไมสุขภาพคนไทยบัตรทอง 47 ล้านคน ถึงมีค่าน้อยกว่ารถยนคันแรกถึง 2.5 เท่า ที่มีคนได้ประโยชน์เพียง 1 ล้านค
และสุขภาพคนไทย มีค่าน้อยกว่า โครงการรับจำนำข้าว ถึง 10 เท่า ที่มีชาวนาได้ประโยชน์ 1.3 ล้านครัวเรือน
ประเทศที่พัฒนาแล้ว ควรจะให้ความสำคัญกับ การศึกษา และสุขภาพ มาเป็นอันดับที่ 1,2
แต่ประเทศไทย ให้ความสำคัญกับโครงการรับจำนำข้าวมาเป็นอันดับ 1 กลาโหม ก็อยู่อันดับต้นๆ มันมาถูกทางแล้วหรือไม่ เด็กไทยจะพัฒนาได้อย่างไร ถ้าผู้ใหญ่ไม่ให้ความสำคัญกับการศึกษา และสุขภาพ