ทีมชาติไทยของพวกเรา..........
ประสบความสำเร็จกับสนามแห่งนี้มาหลายศตวรรษ
เริ่มต้นตั้งแต่ปี 2481 และปี 2485 เปลี่ยนชื่อเป็น " สนามศุภชราศัยกรีฑาสถาน " จนถึงปัจจุบัน
สำหรับผมแล้ว สนามศุภฯ คือสนามแห่งฝัน ที่วาดไว้ว่าซักวันจะต้องลงเตะบอลที่สนามแห่งนี้ใ้ห้ได้
สนามแห่งนี้ เคยเป็นสังเวียนที่พาทีมชาติไทยไปเตะโอลิมปิคครั้งที่ 16 ที่ ออสเตรเลีย
สนามแห่งนี้พาทีมชาติไทยไปโอลิมปิคอีกครั้ง ที่เม็กซิโก เมื่อปี 2511
ทีมชาติไทยของเรายืนแป้นชนะเลิศครั้งแรกที่สนามแห่งนี้ในปี 2518 ด้วยการ
ชนะทีมชาติมาเลเซีย 2-1 หยิบเหรียญทองกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 8
และอีกหลายรายการที่ทีมชาติไทยของเราสร้างความสุขให้แก่ปวงชนชาวไทย
มานับไม่ถ้วน..
สนามแห่งนี้ทีมชาติไทยของเราเคยยิงประตูคู่ต่อสู้ได้สูงสุดคือ นัดที่ชนะบรูไน 10 - 0 ในรายการเอเชี่ยนคัพ ( รอบคัดเลือก ) เมื่อปี 2514
และแพ้เยอะสุดต่อ เกาหลีใต้ ในรายการคิงคัพ เมื่อปี 2518 ด้วยสกอร์ 0 - 6
สนามแห่งนี้เคยเป็นนัดประกาศอำลาทีมชาิติของนักเตะที่เคยได้ชื่อว่า " สิงห์สนามศุภฯ " นิวัิติ ศรีสวัสดิ์ ในการแข่งขันคิงคัพ ครั้งที่ 12 เมื่อปี 2522 โดยหลังเสร็จสิ้นนัดชิงชนะเลิศ ที่ทีมชาติไทยชนะเกาหลีใต้ 2-1 นิวัติ ศรีสวัสดิ์ ได้หยิบไมร์ประกาศด้วยตัวเองว่า เขาจะยุติการเล่นทีมชาติหลังจากนัดนี้ ด้วยคราบน้ำตา
สนามแห่งนี้ มีนักเตะชื่อดังระดับโลกมาโชว์ฝีเท้ามากมาย เช่น เปเล่ รุมเมนิเ้ก้ ชไมเคิล มาร์ค ฮิวส์ กุลลิส บักโจ้ ฯลฯ
เรื่องราวหลากหลายในสนามศุภฯ มีให้เล่าเป็นตำนาน อย่างมากมาย สนามแห่งนี้เป็นอะไรมากกว่า สนามกีฬาแห่งชาติ เป็นอะไรที่มากกว่าสนามฟุตบอลประจำชาติไทย เรื่องราวต่างๆ ในสนามศุภฯ กับทีมชาิติมีหลายความทรงจำ ที่แฟนบอลหลายคนต้องจดจำ ไว้เ่ล่าขานให้ลูกหลานสืบทอดไปอีกนานแสนนาน
และ อีกหนึ่งเรื่องราวเกี่ยวกับสนามศุภฯ ที่พวกเราจะต้องจดจำและบันทึกเพิ่มเติมก็คือ
" ในเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2555 "
ทีมชาติไทย ภายใต้โค้ชที่ชื่อ วินนี่ เชฟเฟอร์ ได้พาทีมชาติไทยคว้าแชมป์ อาเชี่ยนคัพ ( ซูซูกิคัพ ) ที่สนามแห่งนี้ด้วยชัยชนะเหนือทีมชาติสิงค์โปร์ โดยมีกองหน้ทีมชาิติไทยที่ชื่อ ธีรศิลป์ แดงดา เป็นผู้ทำประตูสูงสุดประจำทัวร์นาเม้น ..
อีกหนึ่งบันทึกความภาคภูมิใจของทีมชาติไทยกับ " สนามศุภชราศัยฯ "
ประสบความสำเร็จกับสนามแห่งนี้มาหลายศตวรรษ
เริ่มต้นตั้งแต่ปี 2481 และปี 2485 เปลี่ยนชื่อเป็น " สนามศุภชราศัยกรีฑาสถาน " จนถึงปัจจุบัน
สำหรับผมแล้ว สนามศุภฯ คือสนามแห่งฝัน ที่วาดไว้ว่าซักวันจะต้องลงเตะบอลที่สนามแห่งนี้ใ้ห้ได้
สนามแห่งนี้ เคยเป็นสังเวียนที่พาทีมชาติไทยไปเตะโอลิมปิคครั้งที่ 16 ที่ ออสเตรเลีย
สนามแห่งนี้พาทีมชาติไทยไปโอลิมปิคอีกครั้ง ที่เม็กซิโก เมื่อปี 2511
ทีมชาติไทยของเรายืนแป้นชนะเลิศครั้งแรกที่สนามแห่งนี้ในปี 2518 ด้วยการ
ชนะทีมชาติมาเลเซีย 2-1 หยิบเหรียญทองกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 8
และอีกหลายรายการที่ทีมชาติไทยของเราสร้างความสุขให้แก่ปวงชนชาวไทย
มานับไม่ถ้วน..
สนามแห่งนี้ทีมชาติไทยของเราเคยยิงประตูคู่ต่อสู้ได้สูงสุดคือ นัดที่ชนะบรูไน 10 - 0 ในรายการเอเชี่ยนคัพ ( รอบคัดเลือก ) เมื่อปี 2514
และแพ้เยอะสุดต่อ เกาหลีใต้ ในรายการคิงคัพ เมื่อปี 2518 ด้วยสกอร์ 0 - 6
สนามแห่งนี้เคยเป็นนัดประกาศอำลาทีมชาิติของนักเตะที่เคยได้ชื่อว่า " สิงห์สนามศุภฯ " นิวัิติ ศรีสวัสดิ์ ในการแข่งขันคิงคัพ ครั้งที่ 12 เมื่อปี 2522 โดยหลังเสร็จสิ้นนัดชิงชนะเลิศ ที่ทีมชาติไทยชนะเกาหลีใต้ 2-1 นิวัติ ศรีสวัสดิ์ ได้หยิบไมร์ประกาศด้วยตัวเองว่า เขาจะยุติการเล่นทีมชาติหลังจากนัดนี้ ด้วยคราบน้ำตา
สนามแห่งนี้ มีนักเตะชื่อดังระดับโลกมาโชว์ฝีเท้ามากมาย เช่น เปเล่ รุมเมนิเ้ก้ ชไมเคิล มาร์ค ฮิวส์ กุลลิส บักโจ้ ฯลฯ
เรื่องราวหลากหลายในสนามศุภฯ มีให้เล่าเป็นตำนาน อย่างมากมาย สนามแห่งนี้เป็นอะไรมากกว่า สนามกีฬาแห่งชาติ เป็นอะไรที่มากกว่าสนามฟุตบอลประจำชาติไทย เรื่องราวต่างๆ ในสนามศุภฯ กับทีมชาิติมีหลายความทรงจำ ที่แฟนบอลหลายคนต้องจดจำ ไว้เ่ล่าขานให้ลูกหลานสืบทอดไปอีกนานแสนนาน
และ อีกหนึ่งเรื่องราวเกี่ยวกับสนามศุภฯ ที่พวกเราจะต้องจดจำและบันทึกเพิ่มเติมก็คือ
" ในเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2555 "
ทีมชาติไทย ภายใต้โค้ชที่ชื่อ วินนี่ เชฟเฟอร์ ได้พาทีมชาติไทยคว้าแชมป์ อาเชี่ยนคัพ ( ซูซูกิคัพ ) ที่สนามแห่งนี้ด้วยชัยชนะเหนือทีมชาติสิงค์โปร์ โดยมีกองหน้ทีมชาิติไทยที่ชื่อ ธีรศิลป์ แดงดา เป็นผู้ทำประตูสูงสุดประจำทัวร์นาเม้น ..