เอกสาร ChatGPT ยืนยันเรื่อง OTOP รีเบรนด์ สินค้าเศรษฐกิจชุมชนครับ
https://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/20.500.13072/367183/2539_%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%888_%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99.pdf?sequence=1
4 : การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนาคนและคุณภาพชีวิต
มุ่งการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับพื้นที่และชุมชนรวมทั้งฐานการผลิตสำคัญของประเทศที่มีอยู่แล้วให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และฐานการพัฒนาที่จะพัฒนาขึ้นมาใหม่เพื่อนำไปสู่การสร้างโอกาสและยกระดับคุณภาพชีวิตให้แก่คนและชุมชนในพื้นที่เหล่านั้น
โดย มุ่งสร้างรากฐานการผลิตให้เข้มแข็งพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกจาก กิจกรรมด้านเกษตร อุตสาหกรรม การค้า และบริการ ในลักษณะที่สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน มีการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเป็นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน และพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ โดยไม่ละเลยการเสริมสร้างระบบเศรษฐกิจให้เข้มแข็งและเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ เกิดความสมดุลระหว่างกลุ่มอาชีพและพื้นที่ เกิดการจ้างงานเต็มที่ อีกทั้งไม่เป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมเช่นที่ผ่านมา
หน้า 11 เลขหน้าไม่ตรงผมจึงนำภาพมาแทนครับ
คำถาม ขอทราบรายละเอียดทิศทางการพัฒนาในแผนฯ 8 ที่เน้นรูปแบบของเศรษฐกิจชุมชน
คำตอบ (1) แนวคิด
การพัฒนาชนบท ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค จะดำเนินการพัฒนาอย่างบูรณาการบนพื้นฐานของความต่อเนื่องในแนวทางการพัฒนาที่ได้ดำเนินการมาแล้วในช่วงแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 7 แต่จะปรับให้สอดคล้องกับหลักการของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 ที่ เน้นคนเป็นศูนย์กลางหรือจุดมุ่งหมายหลักของการพัฒนาพร้อมทั้งให้ความสำคัญกับการทำงานร่วมกันในลักษณะพหุภาคีระหว่าง ส่วนต่าง ๆ ในสังคมได้แก่ ชุมชน นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชนภาคราชการ ภาคธุรกิจ
(2) ความหมาย
ยุทธศาสตร์หนึ่งที่สำคัญของการพัฒนาชนบทในช่วงแผนฯ 8 คือการนำเศรษฐกิจชุมชนมาเป็นกิจกรรมที่เป็นตัวนำในการพัฒนา ศักยภาพของคน และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน เนื่องจาก จุดอ่อนของภาคชนบทในการประกอบธุรกิจ คือมีแต่แรงงาน ซึ่งเป็นแรงงานที่ขาดความรู้ความชำนาญในขณะที่การประกอบธุรกิจ
ต้องอาศัยปัจจัยอย่างน้อย 6 ประการ ได้แก่ การตลาด การจัดการ ทุน วัตถุดิบ ข้อมูล และแรงงาน
ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชนจะเป็นการร่วมมือของภาคธุรกิจที่จะเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนในส่วนที่ยังเป็นจุดด้อย โดยเฉพาะในด้านการหาตลาด การเสริมทักษะการบริหารจัดการ และสนับสนุนเงินทุน ทั้งนี้เศรษฐกิจชุมชนที่จะสามารถสร้างการเรียนรู้ และการพัฒนา ศักยภาพของคนชนบทได้จะต้องริเริ่มโดยชุมชน ชุมชนเป็นเจ้าของ กิจกรรมและบริหารจัดการมีการแบ่งปันผลกำไรส่วนหนึ่งเพื่อพัฒนา
ชุมชน โดยภาครัฐหรือธุรกิจ หรือองค์กรพัฒนาเอกชนจะเป็นเพียง ผู้ให้การสนับสนุนทางด้านปัจจัยและองค์ประกอบตลอดจนการเสริมสร้างโอกาสให้การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนเกิดขึ้น และเติบโตได้อย่างต่อเนื่องเท่านั้น
(3) การดำเนินงาน
กิจกรรมธุรกิจชุมชนที่ชุมชนสามารถดำเนินการได้ เช่น ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก ปั๊มน้ำมัน ร้านอาหาร รวมทั้งธุรกิจในลักษณะของอุตสาหกรรม ชุมชน คือ อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร กลุ่มทอผ้า อุตสาหกรรมในครัวเรือน และอุตสาหกรรมทันสมัยอื่น ๆ ที่จะมีการประสานกับ ธุรกิจภาคเอกชน เช่น เสื้อผ้า เครื่องหนัง รองเท้า เป็นต้น โดยจะใช้รูปแบบของการทำงานแบบผสมผสานกัน (ความสำเร็จของโครงการบางจากซึ่งบริษัทน้ำมันบางจากให้การสนับสนุนจะเป็นแม่แบบที่ใช้กับนักธุรกิจอื่น ๆ
กระบวนการนี้เป็นกระบวนการเรียนรู้นอกระบบธรรมชาติ กลุ่มที่ทำการเลี้ยงชีพร่วมกันอย่างโปร่งใสจะทำให้เกิดการเน้นอาชีพที่สุจริต มีการควบคุมจริยธรรมของกลุ่มชุมชนกันเอง และเมื่อเศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็งขึ้น จะนำไปสู่การพัฒนาเรื่องอื่นๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไป และเชื่อมโยงกันทุกเรื่องในที่สุด
หลักฐานของ ChatGPT สำหรับเรื่อง สินค้าOTOP รีเบรนด์จาก สินค้าเศรษฐกิจชุมชน ครับ
https://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/20.500.13072/367183/2539_%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%888_%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99.pdf?sequence=1
4 : การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนาคนและคุณภาพชีวิต
มุ่งการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับพื้นที่และชุมชนรวมทั้งฐานการผลิตสำคัญของประเทศที่มีอยู่แล้วให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และฐานการพัฒนาที่จะพัฒนาขึ้นมาใหม่เพื่อนำไปสู่การสร้างโอกาสและยกระดับคุณภาพชีวิตให้แก่คนและชุมชนในพื้นที่เหล่านั้น
โดย มุ่งสร้างรากฐานการผลิตให้เข้มแข็งพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกจาก กิจกรรมด้านเกษตร อุตสาหกรรม การค้า และบริการ ในลักษณะที่สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน มีการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเป็นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน และพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ โดยไม่ละเลยการเสริมสร้างระบบเศรษฐกิจให้เข้มแข็งและเจริญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพ เกิดความสมดุลระหว่างกลุ่มอาชีพและพื้นที่ เกิดการจ้างงานเต็มที่ อีกทั้งไม่เป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและส่งผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อมเช่นที่ผ่านมา
หน้า 11 เลขหน้าไม่ตรงผมจึงนำภาพมาแทนครับ
คำตอบ (1) แนวคิด
การพัฒนาชนบท ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค จะดำเนินการพัฒนาอย่างบูรณาการบนพื้นฐานของความต่อเนื่องในแนวทางการพัฒนาที่ได้ดำเนินการมาแล้วในช่วงแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 7 แต่จะปรับให้สอดคล้องกับหลักการของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 ที่ เน้นคนเป็นศูนย์กลางหรือจุดมุ่งหมายหลักของการพัฒนาพร้อมทั้งให้ความสำคัญกับการทำงานร่วมกันในลักษณะพหุภาคีระหว่าง ส่วนต่าง ๆ ในสังคมได้แก่ ชุมชน นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชนภาคราชการ ภาคธุรกิจ
(2) ความหมาย
ยุทธศาสตร์หนึ่งที่สำคัญของการพัฒนาชนบทในช่วงแผนฯ 8 คือการนำเศรษฐกิจชุมชนมาเป็นกิจกรรมที่เป็นตัวนำในการพัฒนา ศักยภาพของคน และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน เนื่องจาก จุดอ่อนของภาคชนบทในการประกอบธุรกิจ คือมีแต่แรงงาน ซึ่งเป็นแรงงานที่ขาดความรู้ความชำนาญในขณะที่การประกอบธุรกิจ
ต้องอาศัยปัจจัยอย่างน้อย 6 ประการ ได้แก่ การตลาด การจัดการ ทุน วัตถุดิบ ข้อมูล และแรงงาน
ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชนจะเป็นการร่วมมือของภาคธุรกิจที่จะเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนในส่วนที่ยังเป็นจุดด้อย โดยเฉพาะในด้านการหาตลาด การเสริมทักษะการบริหารจัดการ และสนับสนุนเงินทุน ทั้งนี้เศรษฐกิจชุมชนที่จะสามารถสร้างการเรียนรู้ และการพัฒนา ศักยภาพของคนชนบทได้จะต้องริเริ่มโดยชุมชน ชุมชนเป็นเจ้าของ กิจกรรมและบริหารจัดการมีการแบ่งปันผลกำไรส่วนหนึ่งเพื่อพัฒนา
ชุมชน โดยภาครัฐหรือธุรกิจ หรือองค์กรพัฒนาเอกชนจะเป็นเพียง ผู้ให้การสนับสนุนทางด้านปัจจัยและองค์ประกอบตลอดจนการเสริมสร้างโอกาสให้การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนเกิดขึ้น และเติบโตได้อย่างต่อเนื่องเท่านั้น
(3) การดำเนินงาน
กิจกรรมธุรกิจชุมชนที่ชุมชนสามารถดำเนินการได้ เช่น ร้านค้าปลีกขนาดเล็ก ปั๊มน้ำมัน ร้านอาหาร รวมทั้งธุรกิจในลักษณะของอุตสาหกรรม ชุมชน คือ อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร กลุ่มทอผ้า อุตสาหกรรมในครัวเรือน และอุตสาหกรรมทันสมัยอื่น ๆ ที่จะมีการประสานกับ ธุรกิจภาคเอกชน เช่น เสื้อผ้า เครื่องหนัง รองเท้า เป็นต้น โดยจะใช้รูปแบบของการทำงานแบบผสมผสานกัน (ความสำเร็จของโครงการบางจากซึ่งบริษัทน้ำมันบางจากให้การสนับสนุนจะเป็นแม่แบบที่ใช้กับนักธุรกิจอื่น ๆ
กระบวนการนี้เป็นกระบวนการเรียนรู้นอกระบบธรรมชาติ กลุ่มที่ทำการเลี้ยงชีพร่วมกันอย่างโปร่งใสจะทำให้เกิดการเน้นอาชีพที่สุจริต มีการควบคุมจริยธรรมของกลุ่มชุมชนกันเอง และเมื่อเศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็งขึ้น จะนำไปสู่การพัฒนาเรื่องอื่นๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไป และเชื่อมโยงกันทุกเรื่องในที่สุด