ตึกถล่มครบ 96 ชั่วโมงแล้ว จะยกซากตึกเมื่อไร?
-เมื่อวาน 72 ขั่วโมง ท่านรองบอกยังไม่ได้ ยังอาจมีคนรอดอยู่ ท่านผู้ว่าบอกที่ตุรกี ยังเจอคนรอด เมื่อเวลาผ่านไป7วัน
จขกท.เข้าใจเอาเองว่า ต้องรอให้แน่ใจจริงๆว่า ตายหมดเกลี้ยงเรียบร้อยแน่นอนแล้ว ถึงค่อยยกซากตึกออกได้ ซึ่งหมายถึงต้องรอถึงวันเสาร์อาทิตย์นู่น เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีสิ่งมีชีวิตใดๆ เหลือรอดแล้ว
คือวิธี
สแกนแล้วขุดน่าจะจบไปตั้งแต่สามวันแรกแล้ว รวมทีมกู้ภัยนานาชาติมากกว่าพันคน มะรุมมะตุ้มเพื่อมาสแกนหาที่ซากตึกๆเดียว เพื่อแสกนหาทุกตารางนิ้ว ด้วยทุกเครื่องมือ ทั้งแหย่ ทั้งสอด ทั้งขุด ซ้ำแล้วซ้ำเล่า ว่าแต่ใช้อะไรสแกนบ้าง
ก สุนัขกู้ภัยทีม usar จ้า มาก่อนใคร ได้เครดิตมากที่สุด รวมถึงเหล่า K9 อีกมากมายที่ตามมา
-หาผู้มีชิวิต (เห่า) หาศพ (หมอบ) คงจะแยกจากกลิ่น ถ้าคุณอยู่ข้างศพ ไม่รู้สุนัขจะแยกได้ไหม ทั้งเห่า+หมอบ หรือ หมอบ2 ยังไงก็ส่งเสียงสักนิดก็ดีนะสุนัขได้ยินดีมาก แค่ผิวปากก็ได้
ข สุนัขหุ่นยนต์ robo dog เห็น 1 ตัวติดเครื่องแสกน ไม่ทราบคุณสมบัติ
ค เครื่องสแกน ความสั่นไหวของซากตึก ดูว่ากองเศษซากขยับตัวมั้ย รอเพื่อนๆมาอธิบายรุ่นหน่อยจิ
จาก chat gpt
1 เครื่องมือการฟังเสียง (Acoustic Sensors):
ใช้เพื่อจับเสียงจากผู้ที่อาจจะอยู่ภายในซากอาคาร เช่น เสียงเคาะหรือเสียงการขยับของผู้รอดชีวิต เครื่องมือเช่น "Life Locator" หรือ "Resonance Microphones" จะจับเสียงในระดับที่มีความละเอียดสูงเพื่อระบุที่ตั้งของผู้รอดชีวิต
2 Thermal Imaging Cameras
ใช้สำหรับตรวจจับความร้อนจากร่างกายของผู้ที่อาจจะติดอยู่ภายในซากตึก กล้องความร้อนสามารถตรวจสอบอุณหภูมิของบริเวณต่าง ๆ
3 เครื่องมือค้นหาผ่านการตรวจจับการเคลื่อนไหว (Seismic Sensors):
การตรวจจับการเคลื่อนไหวหรือแรงสั่นสะเทือนเล็ก ๆ ที่อาจเกิดจากการขยับของผู้ที่ติดอยู่ในซากอาคาร
4 หุ่นยนต์ค้นหาผู้รอดชีวิต (Rescue Robots):
ใช้หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนที่ผ่านซากอาคารเพื่อตรวจสอบและส่งสัญญาณกลับเพื่อค้นหาผู้รอดชีวิต หุ่นยนต์บางประเภทมีเซ็นเซอร์ต่าง ๆ เช่น กล้องความร้อน หรือกล้องวิดีโอ ซึ่งช่วยในการสังเกตสถานการณ์ในพื้นที่ที่ยากต่อการเข้าถึง
5 โดรน (Drones):
โดรนที่ติดตั้งเซ็นเซอร์ เช่น กล้องความร้อน หรือเซ็นเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหว เพื่อบินสำรวจซากอาคารจากมุมมองทางอากาศ
6 การตรวจจับก๊าซ (Gas Detectors):
ใช้ตรวจจับการรั่วไหลของก๊าซจากซากอาคาร เช่น การรั่วไหลของก๊าซหุงต้ม ซึ่งอาจเป็นสัญญาณว่ามีผู้รอดชีวิตอยู่ภายใน บางระบบยังสามารถใช้ตรวจสอบอากาศในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดการขาดอากาศหายใจ
เพื่อนๆจะเสริม หรือ อธิบายเครื่องมืออะไร เพิ่มไหม? แต่จขกท.เห็นว่า 4 วัน แล้ว สแกนซ้ำซากพอแล้วยัง รื้อเลย ใจกล้าๆจัดเลย คนรอช่วยเป็นหมื่น พร้อมเครื่องมือไฮเทคที่สุดเท่าที่มีในโลกนี้ อย่าให้เหมือนพม่า ที่มีผู้หญิงตั้งครรภ์ติดอยู่ในซากตึก กู้ภัยพม่ามีน้อย และ ต้องไปช่วยหลายจังหวัดทั่วประเทศพม่า เขาไม่มีเครื่องมือตัดถ่างหรือยกคานที่ทับขาผู้หญิงตั้งครรภ์รายนี้ได้ เค้าใช้วิธีตัดขา เพื่อจะได้นำออกจากซากตึก และท้ายที่สุดผู้หญิงตั้งครรภ์รายนี้ก็เสียชีวิต เนื่องจากเสียเลือดมาก และไม่มีรพ.ให้ไปด้วย รพ.ก็ถล่มเหมือนกัน น่าสงสารมากครับ
ตึกถล่ม 96 ชั่วโมงแล้ว จะใช้เครนยกซากตึกเมื่อไร? / เครื่องสแกนหาผู้รอดตึกถล่ม มีอะไรบ้าง?
-เมื่อวาน 72 ขั่วโมง ท่านรองบอกยังไม่ได้ ยังอาจมีคนรอดอยู่ ท่านผู้ว่าบอกที่ตุรกี ยังเจอคนรอด เมื่อเวลาผ่านไป7วัน
จขกท.เข้าใจเอาเองว่า ต้องรอให้แน่ใจจริงๆว่า ตายหมดเกลี้ยงเรียบร้อยแน่นอนแล้ว ถึงค่อยยกซากตึกออกได้ ซึ่งหมายถึงต้องรอถึงวันเสาร์อาทิตย์นู่น เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีสิ่งมีชีวิตใดๆ เหลือรอดแล้ว
คือวิธีสแกนแล้วขุดน่าจะจบไปตั้งแต่สามวันแรกแล้ว รวมทีมกู้ภัยนานาชาติมากกว่าพันคน มะรุมมะตุ้มเพื่อมาสแกนหาที่ซากตึกๆเดียว เพื่อแสกนหาทุกตารางนิ้ว ด้วยทุกเครื่องมือ ทั้งแหย่ ทั้งสอด ทั้งขุด ซ้ำแล้วซ้ำเล่า ว่าแต่ใช้อะไรสแกนบ้าง
ก สุนัขกู้ภัยทีม usar จ้า มาก่อนใคร ได้เครดิตมากที่สุด รวมถึงเหล่า K9 อีกมากมายที่ตามมา
-หาผู้มีชิวิต (เห่า) หาศพ (หมอบ) คงจะแยกจากกลิ่น ถ้าคุณอยู่ข้างศพ ไม่รู้สุนัขจะแยกได้ไหม ทั้งเห่า+หมอบ หรือ หมอบ2 ยังไงก็ส่งเสียงสักนิดก็ดีนะสุนัขได้ยินดีมาก แค่ผิวปากก็ได้
ข สุนัขหุ่นยนต์ robo dog เห็น 1 ตัวติดเครื่องแสกน ไม่ทราบคุณสมบัติ
ค เครื่องสแกน ความสั่นไหวของซากตึก ดูว่ากองเศษซากขยับตัวมั้ย รอเพื่อนๆมาอธิบายรุ่นหน่อยจิ
จาก chat gpt
1 เครื่องมือการฟังเสียง (Acoustic Sensors):
ใช้เพื่อจับเสียงจากผู้ที่อาจจะอยู่ภายในซากอาคาร เช่น เสียงเคาะหรือเสียงการขยับของผู้รอดชีวิต เครื่องมือเช่น "Life Locator" หรือ "Resonance Microphones" จะจับเสียงในระดับที่มีความละเอียดสูงเพื่อระบุที่ตั้งของผู้รอดชีวิต
2 Thermal Imaging Cameras
ใช้สำหรับตรวจจับความร้อนจากร่างกายของผู้ที่อาจจะติดอยู่ภายในซากตึก กล้องความร้อนสามารถตรวจสอบอุณหภูมิของบริเวณต่าง ๆ
3 เครื่องมือค้นหาผ่านการตรวจจับการเคลื่อนไหว (Seismic Sensors):
การตรวจจับการเคลื่อนไหวหรือแรงสั่นสะเทือนเล็ก ๆ ที่อาจเกิดจากการขยับของผู้ที่ติดอยู่ในซากอาคาร
4 หุ่นยนต์ค้นหาผู้รอดชีวิต (Rescue Robots):
ใช้หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนที่ผ่านซากอาคารเพื่อตรวจสอบและส่งสัญญาณกลับเพื่อค้นหาผู้รอดชีวิต หุ่นยนต์บางประเภทมีเซ็นเซอร์ต่าง ๆ เช่น กล้องความร้อน หรือกล้องวิดีโอ ซึ่งช่วยในการสังเกตสถานการณ์ในพื้นที่ที่ยากต่อการเข้าถึง
5 โดรน (Drones):
โดรนที่ติดตั้งเซ็นเซอร์ เช่น กล้องความร้อน หรือเซ็นเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหว เพื่อบินสำรวจซากอาคารจากมุมมองทางอากาศ
6 การตรวจจับก๊าซ (Gas Detectors):
ใช้ตรวจจับการรั่วไหลของก๊าซจากซากอาคาร เช่น การรั่วไหลของก๊าซหุงต้ม ซึ่งอาจเป็นสัญญาณว่ามีผู้รอดชีวิตอยู่ภายใน บางระบบยังสามารถใช้ตรวจสอบอากาศในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดการขาดอากาศหายใจ
เพื่อนๆจะเสริม หรือ อธิบายเครื่องมืออะไร เพิ่มไหม? แต่จขกท.เห็นว่า 4 วัน แล้ว สแกนซ้ำซากพอแล้วยัง รื้อเลย ใจกล้าๆจัดเลย คนรอช่วยเป็นหมื่น พร้อมเครื่องมือไฮเทคที่สุดเท่าที่มีในโลกนี้ อย่าให้เหมือนพม่า ที่มีผู้หญิงตั้งครรภ์ติดอยู่ในซากตึก กู้ภัยพม่ามีน้อย และ ต้องไปช่วยหลายจังหวัดทั่วประเทศพม่า เขาไม่มีเครื่องมือตัดถ่างหรือยกคานที่ทับขาผู้หญิงตั้งครรภ์รายนี้ได้ เค้าใช้วิธีตัดขา เพื่อจะได้นำออกจากซากตึก และท้ายที่สุดผู้หญิงตั้งครรภ์รายนี้ก็เสียชีวิต เนื่องจากเสียเลือดมาก และไม่มีรพ.ให้ไปด้วย รพ.ก็ถล่มเหมือนกัน น่าสงสารมากครับ