![](https://f.ptcdn.info/039/087/000/m70dopryieuVKhfzQ70-o.jpg)
ที่ดินเดิมทีเป็นของพ่อ แบ่งให้ลูกสามคน คือ นาย ก. ข. และ ค.
เหลือไว้ตรงกลางเป็นถนนซึ่งมีกรรมสิทธิ์ของ 3 คนใช้ร่วมกันเป็นทางเข้าออก
เมื่อ 7 ปีที่แล้ว บริษัทก่อสร้างที่ด้านหลังติดกันขอซื้อที่ดินจากนาย ข. ทั้งสองแปลง (ในส่วนสีเขียว) โดยไม่ได้ซื้อสิทธิในถนน
ปี 2567 นาย ก. และ นาย ค. ในฐานะลูกหนี้ร่วม ถูกขายทอดตลาดที่ดินทั้ง 4 แปลง และ รวมถึงสิทธิในถนน (นาย ข. ไม่ได้ร้องขอกันส่วน)
ต่อมาผู้ประมูลซื้อที่ดินแจ้งบริษัทก่อสร้างว่าถนนเส้นนี้ไม่ใช่ถนนสาธารณะ ให้บริษัทก่อสร้างหยุดใช้ถนน
บริษัทก่อสร้างจึงติดต่อ นาย ข.
นาย ข. แจ้งผู้ประมูลซื้อที่ดินว่าได้อนุญาตให้บริษัทก่อสร้างตั้งแต่เมื่อ 7 ปีที่แล้ว (ครอบครัว นาย ข. รู้จักกับผู้ประมูลซื้อที่ดินมีความเกรงใจกัน ไม่กล้าขายสิทธิให้บริษัทก่อสร้างเพราะรู้ว่ากำลังพิพาทเรื่องทางกันอยู่)
สัปดาห์ที่แล้วผู้ประมูลซื้อที่ดิน นำป้ายมาติดหน้าปากทางเข้าออกว่า ถนนใช้สำหรับผู้มีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิเท่านั้น
ถ้าหากบริษัทก่อสร้าง ยังคงใช้ถนนเช่นเดิม ผู้ประมูลซื้อที่ดิน จะดำเนินการฟ้องเรียกค่าเสียหายหรือแจ้งความข้อหาบุกรุกได้หรือไม่
โดนห้ามไม่ให้ใช้ถนน แต่ซื้อที่ดินด้านในมาแล้ว
ที่ดินเดิมทีเป็นของพ่อ แบ่งให้ลูกสามคน คือ นาย ก. ข. และ ค.
เหลือไว้ตรงกลางเป็นถนนซึ่งมีกรรมสิทธิ์ของ 3 คนใช้ร่วมกันเป็นทางเข้าออก
เมื่อ 7 ปีที่แล้ว บริษัทก่อสร้างที่ด้านหลังติดกันขอซื้อที่ดินจากนาย ข. ทั้งสองแปลง (ในส่วนสีเขียว) โดยไม่ได้ซื้อสิทธิในถนน
ปี 2567 นาย ก. และ นาย ค. ในฐานะลูกหนี้ร่วม ถูกขายทอดตลาดที่ดินทั้ง 4 แปลง และ รวมถึงสิทธิในถนน (นาย ข. ไม่ได้ร้องขอกันส่วน)
ต่อมาผู้ประมูลซื้อที่ดินแจ้งบริษัทก่อสร้างว่าถนนเส้นนี้ไม่ใช่ถนนสาธารณะ ให้บริษัทก่อสร้างหยุดใช้ถนน
บริษัทก่อสร้างจึงติดต่อ นาย ข.
นาย ข. แจ้งผู้ประมูลซื้อที่ดินว่าได้อนุญาตให้บริษัทก่อสร้างตั้งแต่เมื่อ 7 ปีที่แล้ว (ครอบครัว นาย ข. รู้จักกับผู้ประมูลซื้อที่ดินมีความเกรงใจกัน ไม่กล้าขายสิทธิให้บริษัทก่อสร้างเพราะรู้ว่ากำลังพิพาทเรื่องทางกันอยู่)
สัปดาห์ที่แล้วผู้ประมูลซื้อที่ดิน นำป้ายมาติดหน้าปากทางเข้าออกว่า ถนนใช้สำหรับผู้มีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิเท่านั้น
ถ้าหากบริษัทก่อสร้าง ยังคงใช้ถนนเช่นเดิม ผู้ประมูลซื้อที่ดิน จะดำเนินการฟ้องเรียกค่าเสียหายหรือแจ้งความข้อหาบุกรุกได้หรือไม่