.
.
หนูเดกูอาศัยในอุโมงค์ที่สลับซับซ้อน
อยู่ร่วมกับหนูตัวอื่นอีก 10 ตัว
© imageBROKER.com GmbH & Co. KG
/ Alamy Stock Photo
.
.
.
Why You Should Consider
A Degu As Your Next Pet
.
.
.
.
หนูเดกูทำความสะอาดตัวเอง
สื่อสารระหว่างกันด้วยปัสสาวะ(ฉี่)
และสลัดหางของตัวเองทิ้งได้
เพื่อล่อหลอก/หลบหนีจากนักล่า
หนูเดกูหรือหนูชิลี
ชื่อ: หนูเดกู
Octodon degus
ถิ่นอาศัย : ตอนกลางของประเทศชิลี
กินอะไร : หญ้า เมล็ดพืช เปลือกไม้
และบางครั้งก็กินอุนจิ(อึ)ของตัวเอง
เหตุใดจึงยอดเยี่ยม :
หนูเดกูมีความยาวประมาณ 10 ถึง 12 นิ้ว
(25 ถึง 31 เซนติเมตร) และมีขนสีน้ำตาล
คล้ายหนูแฮมสเตอร์
Hamsters ขนาดใหญ่
ที่มีหางยาวกว่าหนูทั่วไป
.
.
.
Getty Images
.
.
.
แฮมเตอร์แคราะกับสังคม Getty Images
.
.
.
แฮมเตอร์สีทองออกลูกได้ปีละ 5 ครอก
Getty Images
.
.
.
แฮมเตอร์บางชนิดจะอมอาหาร
ไว้ที่กระพุงแก้มได้ราว 20% ของน้ำหนักตัว
Getty Images
.
.
หนูเดกูตัวกลมเหล่านี้มีถิ่นกำเนิดใน
Chilean Matorral
ของประเทศชิลี ในอเมริกาใต้
อาศัยอยู่ในอุโมงค์ใต้ดิน
ที่ซับซ้อนร่วมกับหนูเดกูอีก 10 ตัว
และในสังคมของหนูเดกู
ฉึ่มีความสำคัญสูงสุด
สัตว์ที่เข้าสังคมได้ดีเหล่านี้
ใช้ฉึ่ในหลายๆ วิธีที่น่าสนใจ
รวมถึงการอาบน้ำ เพื่อความสะอาด
หนูเดกูจะกลิ้งไปกลิ้งมาในทราย
ที่เปียกด้วยฉึ่ของตัวเอง
และใช้ฉี่เพื่อทำเครื่องหมาย
เส้นทางและอาณาเขตร่วมกัน
.
ฉี่ของเดกูจะสะท้อนแสง
อัลตราไวโอเลต (UV)
ซึ่งหนูเดกูทั่วไปจะมองเห็นได้
ทำให้ระบุจุดที่มีหนูเดกูหนาแน่น
และอาณาเขตร่วมกันได้
รวมถึงหนูเดกูตัวอื่น ๆ ที่มีฉี่ติดขน
ฉี่สดจะสะท้อนแสง UV ได้ดีกว่าฉี่เก่า
จากการศึกษาในปี
2003 พบว่า
หนูเดกูสามารถใช้การมองเห็นด้วยแสง UV
เพื่อแยกแยะรอยฉี่สดและฉี่เก่าได้
ซึ่งจะช่วยให้มันระบุได้ว่าหนูตัวอื่น ๆ
อยู่ที่ไหนและมีกิจกรรมทางสังคมที่ไหน
.
.
.
.
.
.
หนูเดกูไม่เหมือนกับหนูขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ
เช่น หนูแฮมสเตอร์ และ ชินชิลล่า
Hamsters และ
Chinchillas
ซึ่งออกหากินเวลากลางคืน
แต่หนูเดกูจะกระตือรือร้นในตอนกลางวัน
แล้วจะนอนหลับในตอนกลางคืน
.
.
.
.
.
.
พวกมันยังมีกลวิธีหลบหนีที่ชาญฉลาด
เพื่อหลบหนีจากนักล่า หากถูกจับได้
หนูเดกูทั่วไปจะสลัดหางออกอย่างรวดเร็ว
ซึ่งเป็นกลวิธีที่เรียกว่า
การลอกขน
ซึ่งจะทำให้นักล่าเสียสมาธิ สนใจที่หาง
แล้วเปิดโอกาสให้หนูเดกูหลบหนีได้
อย่างไรก็ตาม หางจะไม่งอกกลับมาอีก
ดังนั้นนี่จึงเป็นเพียงกลวิธีครั้งเดียวเท่านั้น
หนูเดกูทั่วไปเป็นสัตว์ที่เข้ากับสังคมได้ดี
จึงสื่อสารด้วยกันได้หลายวิธี
และเปล่งเสียงได้มากถึง
15 เสียง
พวกมันจะเคี้ยวฟันเมื่อรู้สึกหงุดหงิด
ร้องเสียงแหลมเมื่อรู้สึกกลัว
ส่งเสียงร้องแหลม
หรือเห่าเมื่อรู้สึกตื่นเต้น
แม่หนูเดกูยัง
ส่งเสียงร้องเฉพาะของแม่
เมื่อกำลังให้นมลูก ซึ่งเชื่อกันว่า
จะช่วยกระตุ้น/เสริมแรงในการให้อาหาร
.
เรียบเรียง/ที่มา
Common Degu
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
Degus มีลายขนเฉพาะตัว
.
.
.
ลูกหนูเดกูอายุ 3 วัน
.
.
.
Degus ซุกตัวซ้อนกันเพื่อให้อบอุ่น
ที่ Artis Zoo ใน Netherlands
.
.
.
แม่กำลังทำให้ลูกอบอุ่น
.
.
.
ใช้อุ้งเท้าหน้าจับอาหาร
.
.
.
โดยทั่วไป หนูเดกูมีความฉลาดเป็นอย่างยิ่ง
และมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดี
ตัวนี้มีหางที่สั้นกว่าปกติมาก
น่าจะเกิดจากการบาดเจ็บ/ถูกกัดหาง
.
.
.
ผิดธรรมชาติ ถ้าเลี้ยงหนูเดกูไว้ในกรง
พวกมันต้องการพื้นที่มากพอสมควร
เพื่อแสดงพฤติกรรมปกติให้ได้เต็มแรง
.
.
.
หนูเดกูในกรง
.
.
.
หนูเดกูนอกกรงสองตัว
.
.
.
หนูเดกู 2 ตัว
.
.
.
หนูเดกูในตะกร้า
.
.
.
หนูเดกูในกรงไม้ 3 ตัว
.
.
.
สีขนหนูเดกูที่พบเห็นได้ทั่วไป
.
.
เดกู หนูแฮมสเตอร์ขนาดใหญ่ที่ควบคุมสังคมด้วยฉี่
.
หนูเดกูอาศัยในอุโมงค์ที่สลับซับซ้อน
อยู่ร่วมกับหนูตัวอื่นอีก 10 ตัว
© imageBROKER.com GmbH & Co. KG
/ Alamy Stock Photo
.
.
.
Why You Should Consider
A Degu As Your Next Pet
.
.
.
.
หนูเดกูทำความสะอาดตัวเอง
สื่อสารระหว่างกันด้วยปัสสาวะ(ฉี่)
และสลัดหางของตัวเองทิ้งได้
เพื่อล่อหลอก/หลบหนีจากนักล่า
หนูเดกูหรือหนูชิลี
ชื่อ: หนูเดกู Octodon degus
ถิ่นอาศัย : ตอนกลางของประเทศชิลี
กินอะไร : หญ้า เมล็ดพืช เปลือกไม้
และบางครั้งก็กินอุนจิ(อึ)ของตัวเอง
เหตุใดจึงยอดเยี่ยม :
หนูเดกูมีความยาวประมาณ 10 ถึง 12 นิ้ว
(25 ถึง 31 เซนติเมตร) และมีขนสีน้ำตาล
คล้ายหนูแฮมสเตอร์ Hamsters ขนาดใหญ่
ที่มีหางยาวกว่าหนูทั่วไป
.
.
Getty Images
.
.
.
แฮมเตอร์แคราะกับสังคม Getty Images
.
.
.
แฮมเตอร์สีทองออกลูกได้ปีละ 5 ครอก
Getty Images
.
.
.
แฮมเตอร์บางชนิดจะอมอาหาร
ไว้ที่กระพุงแก้มได้ราว 20% ของน้ำหนักตัว
Getty Images
.
.
หนูเดกูตัวกลมเหล่านี้มีถิ่นกำเนิดใน
Chilean Matorral
ของประเทศชิลี ในอเมริกาใต้
อาศัยอยู่ในอุโมงค์ใต้ดิน
ที่ซับซ้อนร่วมกับหนูเดกูอีก 10 ตัว
และในสังคมของหนูเดกู
ฉึ่มีความสำคัญสูงสุด
สัตว์ที่เข้าสังคมได้ดีเหล่านี้
ใช้ฉึ่ในหลายๆ วิธีที่น่าสนใจ
รวมถึงการอาบน้ำ เพื่อความสะอาด
หนูเดกูจะกลิ้งไปกลิ้งมาในทราย
ที่เปียกด้วยฉึ่ของตัวเอง
และใช้ฉี่เพื่อทำเครื่องหมาย
เส้นทางและอาณาเขตร่วมกัน
.
.
Degu
.
.
ฉี่ของเดกูจะสะท้อนแสง
อัลตราไวโอเลต (UV)
ซึ่งหนูเดกูทั่วไปจะมองเห็นได้
ทำให้ระบุจุดที่มีหนูเดกูหนาแน่น
และอาณาเขตร่วมกันได้
รวมถึงหนูเดกูตัวอื่น ๆ ที่มีฉี่ติดขน
ฉี่สดจะสะท้อนแสง UV ได้ดีกว่าฉี่เก่า
จากการศึกษาในปี 2003 พบว่า
หนูเดกูสามารถใช้การมองเห็นด้วยแสง UV
เพื่อแยกแยะรอยฉี่สดและฉี่เก่าได้
ซึ่งจะช่วยให้มันระบุได้ว่าหนูตัวอื่น ๆ
อยู่ที่ไหนและมีกิจกรรมทางสังคมที่ไหน
.
.
.
.
.
หนูเดกูไม่เหมือนกับหนูขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ
เช่น หนูแฮมสเตอร์ และ ชินชิลล่า
Hamsters และ Chinchillas
ซึ่งออกหากินเวลากลางคืน
แต่หนูเดกูจะกระตือรือร้นในตอนกลางวัน
แล้วจะนอนหลับในตอนกลางคืน
.
.
.
.
.
พวกมันยังมีกลวิธีหลบหนีที่ชาญฉลาด
เพื่อหลบหนีจากนักล่า หากถูกจับได้
หนูเดกูทั่วไปจะสลัดหางออกอย่างรวดเร็ว
ซึ่งเป็นกลวิธีที่เรียกว่า การลอกขน
ซึ่งจะทำให้นักล่าเสียสมาธิ สนใจที่หาง
แล้วเปิดโอกาสให้หนูเดกูหลบหนีได้
อย่างไรก็ตาม หางจะไม่งอกกลับมาอีก
ดังนั้นนี่จึงเป็นเพียงกลวิธีครั้งเดียวเท่านั้น
หนูเดกูทั่วไปเป็นสัตว์ที่เข้ากับสังคมได้ดี
จึงสื่อสารด้วยกันได้หลายวิธี
และเปล่งเสียงได้มากถึง 15 เสียง
พวกมันจะเคี้ยวฟันเมื่อรู้สึกหงุดหงิด
ร้องเสียงแหลมเมื่อรู้สึกกลัว
ส่งเสียงร้องแหลม
หรือเห่าเมื่อรู้สึกตื่นเต้น
แม่หนูเดกูยัง ส่งเสียงร้องเฉพาะของแม่
เมื่อกำลังให้นมลูก ซึ่งเชื่อกันว่า
จะช่วยกระตุ้น/เสริมแรงในการให้อาหาร
.
เรียบเรียง/ที่มา
Common Degu
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
Degus มีลายขนเฉพาะตัว
.
.
.
ลูกหนูเดกูอายุ 3 วัน
.
.
.
Degus ซุกตัวซ้อนกันเพื่อให้อบอุ่น
ที่ Artis Zoo ใน Netherlands
.
.
.
แม่กำลังทำให้ลูกอบอุ่น
.
.
.
ใช้อุ้งเท้าหน้าจับอาหาร
.
.
.
โดยทั่วไป หนูเดกูมีความฉลาดเป็นอย่างยิ่ง
และมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดี
ตัวนี้มีหางที่สั้นกว่าปกติมาก
น่าจะเกิดจากการบาดเจ็บ/ถูกกัดหาง
.
.
.
ผิดธรรมชาติ ถ้าเลี้ยงหนูเดกูไว้ในกรง
พวกมันต้องการพื้นที่มากพอสมควร
เพื่อแสดงพฤติกรรมปกติให้ได้เต็มแรง
.
.
.
หนูเดกูในกรง
.
.
.
หนูเดกูนอกกรงสองตัว
.
.
.
หนูเดกู 2 ตัว
.
.
.
หนูเดกูในตะกร้า
.
.
.
หนูเดกูในกรงไม้ 3 ตัว
.
.
.
สีขนหนูเดกูที่พบเห็นได้ทั่วไป
.
.