เทคนิคการเล่าเรื่องที่ใช้ในฉากนี้
การใช้บทสนทนา:
บทสนทนาของซองกีฮุนกับแม่เต็มไปด้วยความเจ็บปวดและความจริงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
บทพูดถูกเขียนให้สะท้อนถึงความขัดแย้งระหว่าง "ความคาดหวังของแม่" และ "ความล้มเหลวของลูกชาย"
ตัวอย่าง:
บทนี้สะท้อนให้เห็นถึงการถามหาความรับผิดชอบ ของลูกชาย ซึ่งตัวเอกรู้อยู่แก่ใจว่าไม่มีเงินพอที่จะไปเลี้ยงวันเกิดลูกได้
-
เทคนิคด้านภาพ การวางตำแหน่งตัวละคร มุมกล้องระดับต่ำและสูง (Low Angle และ High Angle)
ไม่ว่าผู้กำกับจะตั้งใจหรือไม่ การสื่อความหมายด้วยภาพ และตำแหน่งการจัดวางตัวละคร ซองกีฮุน มักจะอยู่ในมุมที่ระดับต่ำกว่าแม่เสมอ
มันบ่งบอกถึง ผู้กำกับใช้มุมกล้องที่แสดงให้แม่ดู "สูงกว่า" ซองกีฮุนในบางช่วง ซึ่งสื่อถึงอำนาจหรือความคาดหวังที่แม่มีต่อเขา
ตัวละครของแม่ดูเหมือนเป็น "ผู้คุมกฎ" หรือคนที่พยายามดึงเขาให้กลับมารับผิดชอบชีวิตตัวเองอีกครั้งโดยการเริ่มต้นประโยคถามหาวันเกิดหลานสาว
High Angle
low angel
สลับกับภาพ close up
เพื่อเน้นอารมณ์ของกีฮุน ที่ซ่อนความอับอาย ความเจ็บปวด และความล้มเหลวไว้ด้วยการกลบเกลื่อนโวยวายกับแม่ตัวเอง
ฉากนี้สะท้อนให้เห็นถึง
ภาระทางการเงินของครอบครัวชนชั้นล่าง
ซองกีฮุนแสดงถึงบุคคลที่พยายามดิ้นรนในระบบเศรษฐกิจที่ไม่เป็นธรรมในเกาหลีใต้ แถมถูกเอารัดเอาเปรียบ จากการที่ไม่ได้เงินค่าชดเชย
จากการเลิกจ้างของบริษัท
ทำให้เขามีหนี้สินสะสมสูง และไม่มีโอกาสทางการเงินเพียงพอที่จะหลุดพ้นจากวงจรความยากจน และถูกบดบังโอกาสชีวิตด้วยความล้มเหลว
ความจริงที่เจ็บปวดในฉากนี้ก็คือ ความกดดันทางสังคมต่อ "หัวหน้าครอบครัว"
ในวัฒนธรรมเกาหลี การที่ลูกชายคนโต (หรือหัวหน้าครอบครัว)
ไม่สามารถเลี้ยงดูครอบครัวได้เป็นเรื่องที่สร้างแรงกดดันและความอับอายอย่างมาก
ฉากนี้ใช้เวลาแค่ 1 นาที 20 วิ ก็สามารถสะท้อนถึงความจริงที่เจ็บปวดได้อย่างชัดเจน
ซึ่งพล็อตเรื่องปัญหาความเหลื่อมล้ำของระบบเศรษฐกิจเคยมีผกก หลายคน นำประเด็นมาตีแผ่ทั้งในภาพยนตร์และสารคดี
parasite
persuit of happiness
Debtocracy
วิเคราะห์ squid game ความจริงที่เจ็บปวด ฉากกีฮุนกับแม่ ตอนที่ 1 เออีไอโอยู หยุด
การใช้บทสนทนา:
บทสนทนาของซองกีฮุนกับแม่เต็มไปด้วยความเจ็บปวดและความจริงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
บทพูดถูกเขียนให้สะท้อนถึงความขัดแย้งระหว่าง "ความคาดหวังของแม่" และ "ความล้มเหลวของลูกชาย"
ตัวอย่าง:
บทนี้สะท้อนให้เห็นถึงการถามหาความรับผิดชอบ ของลูกชาย ซึ่งตัวเอกรู้อยู่แก่ใจว่าไม่มีเงินพอที่จะไปเลี้ยงวันเกิดลูกได้
- เทคนิคด้านภาพ การวางตำแหน่งตัวละคร มุมกล้องระดับต่ำและสูง (Low Angle และ High Angle)
ไม่ว่าผู้กำกับจะตั้งใจหรือไม่ การสื่อความหมายด้วยภาพ และตำแหน่งการจัดวางตัวละคร ซองกีฮุน มักจะอยู่ในมุมที่ระดับต่ำกว่าแม่เสมอ
มันบ่งบอกถึง ผู้กำกับใช้มุมกล้องที่แสดงให้แม่ดู "สูงกว่า" ซองกีฮุนในบางช่วง ซึ่งสื่อถึงอำนาจหรือความคาดหวังที่แม่มีต่อเขา
ตัวละครของแม่ดูเหมือนเป็น "ผู้คุมกฎ" หรือคนที่พยายามดึงเขาให้กลับมารับผิดชอบชีวิตตัวเองอีกครั้งโดยการเริ่มต้นประโยคถามหาวันเกิดหลานสาว
High Angle
low angel
สลับกับภาพ close up
เพื่อเน้นอารมณ์ของกีฮุน ที่ซ่อนความอับอาย ความเจ็บปวด และความล้มเหลวไว้ด้วยการกลบเกลื่อนโวยวายกับแม่ตัวเอง
ฉากนี้สะท้อนให้เห็นถึง
ภาระทางการเงินของครอบครัวชนชั้นล่าง
ซองกีฮุนแสดงถึงบุคคลที่พยายามดิ้นรนในระบบเศรษฐกิจที่ไม่เป็นธรรมในเกาหลีใต้ แถมถูกเอารัดเอาเปรียบ จากการที่ไม่ได้เงินค่าชดเชย
จากการเลิกจ้างของบริษัท
ทำให้เขามีหนี้สินสะสมสูง และไม่มีโอกาสทางการเงินเพียงพอที่จะหลุดพ้นจากวงจรความยากจน และถูกบดบังโอกาสชีวิตด้วยความล้มเหลว
ความจริงที่เจ็บปวดในฉากนี้ก็คือ ความกดดันทางสังคมต่อ "หัวหน้าครอบครัว"
ในวัฒนธรรมเกาหลี การที่ลูกชายคนโต (หรือหัวหน้าครอบครัว)
ไม่สามารถเลี้ยงดูครอบครัวได้เป็นเรื่องที่สร้างแรงกดดันและความอับอายอย่างมาก
ฉากนี้ใช้เวลาแค่ 1 นาที 20 วิ ก็สามารถสะท้อนถึงความจริงที่เจ็บปวดได้อย่างชัดเจน
ซึ่งพล็อตเรื่องปัญหาความเหลื่อมล้ำของระบบเศรษฐกิจเคยมีผกก หลายคน นำประเด็นมาตีแผ่ทั้งในภาพยนตร์และสารคดี
parasite
persuit of happiness
Debtocracy