ในการจัดการแข่งขันกีฬา เอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 13 นอกจากจะไม่ต้องใช้เงินภาษีประชาชนแล้ว งบประมาณซึ่งได้รับการสนับสนุน ถึงแม้ว่าจะพลาด การสร้าง
สปอร์ตคอมเพล็กซ์ที่ ถนนพระราม9 เพื่อให้ประชาชนชายคลองเตยย้ายมาอยู่หลังจบการแข่งขัน เพื่อแก้ไขปัญหาชุมชน เมือง และ เพิ่มคุณภาพชีวิตประชาชน
ซึ่งในขณะนั้น แผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล ซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเมื่อ 27 กันยายน 2537 จัดทำโดยองค์การรถไฟฟ้ามหานคร โดยองค์การรถไฟฟ้ามหานครขอมติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม 2537 เรื่องพื้นทีๆ ต้องอยู่ใต้ดิน และ พื้นที่ควรอยู่ใต้ดิน สำเร็จแล้ว
ข้าพเจ้ามั่นใจว่า หากไม่มีแผนแม่บทของคุณพ่อ สุขวิช รังสิตพล ในปี 2537 BTS ซึ้งได้สัมปทานจากพรรคพลังธรรม ตั้งแต่ปี 2535 แต่ไม่มีความคืบหน้า และถือโอกาส ตัดส่วนไข่แดง ของแผนแม่บทไป ส่งผลให้ ค่าโดยสารไม่ใช่ 10 บาทตลอดสาย ตามเป้าหมายเดิม และโรงซ่อมไม่ได้อยู่พระราม 9 ใต้สปอร์ตคอมเพล็กซ์ ซึ่งจะสร้างโดยงบประมาณจัดการแข่งขัน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ปี 2537
การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ปี 2539 คุณพ่อ สุขวิช รังสิตพล ดำรงตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการจัดการแข่งขัน กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ คุณพ่อได้มอบงบประมาณที่เหลือจากการให้สัมปทาน ให้มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์เพื่อสร้าง สปอร์ตคอมเพล็กซ์ พร้อมทั้งมอบ มิตรภาพไร้พรมแดน
Friendship beyond frontier เพื่อเป็นคำขวัญของการแข่งขันกีฬาในครั้งนั้น
ระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย ก่อนหน้า และ ภายหลัง แผนแม่บทของเราค่ะ
1) โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน
2) โครงการโฮปเวลล์
3) โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน (ดอนเมือง สุวรรณภูมิ อู่ตะเภา) เป็นโครงการเรือธงของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) โดยเป็นโครงสร้างพื้นฐานแรกที่ลงนามสัญญาร่วมลงทุนเมื่อวันที่ 24 ต.ค.2562 ระหว่างการรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) และบริษัทเอเชีย เอราวัน จำกัด ที่มีเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่
ประเทศไทยไม่เคยได้รับโอกาสจัดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์อีก ทั้งที่ หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ในปี 2540 ประเทศไทยคงจะได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิคไปแล้ว และคงจะได้รับงบประมาณสนับสนุน ในการจัด Soft Power โอลิมปิค โดยไม่ต้องใช้เงินภาษีประชาชน ละลายแม่น้ำไป 5,164 ล้านบาท ในรัฐบาลพรรคเพื่อไทย ปีงบประมาณ 2567 ซึ่งจะสิ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน 2567
Soft Power
สปอร์ตคอมเพล็กซ์ที่ ถนนพระราม9 เพื่อให้ประชาชนชายคลองเตยย้ายมาอยู่หลังจบการแข่งขัน เพื่อแก้ไขปัญหาชุมชน เมือง และ เพิ่มคุณภาพชีวิตประชาชน
ซึ่งในขณะนั้น แผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล ซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเมื่อ 27 กันยายน 2537 จัดทำโดยองค์การรถไฟฟ้ามหานคร โดยองค์การรถไฟฟ้ามหานครขอมติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม 2537 เรื่องพื้นทีๆ ต้องอยู่ใต้ดิน และ พื้นที่ควรอยู่ใต้ดิน สำเร็จแล้ว
ข้าพเจ้ามั่นใจว่า หากไม่มีแผนแม่บทของคุณพ่อ สุขวิช รังสิตพล ในปี 2537 BTS ซึ้งได้สัมปทานจากพรรคพลังธรรม ตั้งแต่ปี 2535 แต่ไม่มีความคืบหน้า และถือโอกาส ตัดส่วนไข่แดง ของแผนแม่บทไป ส่งผลให้ ค่าโดยสารไม่ใช่ 10 บาทตลอดสาย ตามเป้าหมายเดิม และโรงซ่อมไม่ได้อยู่พระราม 9 ใต้สปอร์ตคอมเพล็กซ์ ซึ่งจะสร้างโดยงบประมาณจัดการแข่งขัน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ปี 2537
การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ปี 2539 คุณพ่อ สุขวิช รังสิตพล ดำรงตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการจัดการแข่งขัน กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ คุณพ่อได้มอบงบประมาณที่เหลือจากการให้สัมปทาน ให้มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์เพื่อสร้าง สปอร์ตคอมเพล็กซ์ พร้อมทั้งมอบ มิตรภาพไร้พรมแดน
Friendship beyond frontier เพื่อเป็นคำขวัญของการแข่งขันกีฬาในครั้งนั้น
ระบบขนส่งมวลชนในประเทศไทย ก่อนหน้า และ ภายหลัง แผนแม่บทของเราค่ะ
1) โครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน
2) โครงการโฮปเวลล์
3) โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน (ดอนเมือง สุวรรณภูมิ อู่ตะเภา) เป็นโครงการเรือธงของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) โดยเป็นโครงสร้างพื้นฐานแรกที่ลงนามสัญญาร่วมลงทุนเมื่อวันที่ 24 ต.ค.2562 ระหว่างการรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) และบริษัทเอเชีย เอราวัน จำกัด ที่มีเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่
ประเทศไทยไม่เคยได้รับโอกาสจัดการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์อีก ทั้งที่ หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ในปี 2540 ประเทศไทยคงจะได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิคไปแล้ว และคงจะได้รับงบประมาณสนับสนุน ในการจัด Soft Power โอลิมปิค โดยไม่ต้องใช้เงินภาษีประชาชน ละลายแม่น้ำไป 5,164 ล้านบาท ในรัฐบาลพรรคเพื่อไทย ปีงบประมาณ 2567 ซึ่งจะสิ้นสุดในวันที่ 30 กันยายน 2567