ภาคอีสาน

กระทู้สนทนา
อุปสงค์และ ผลผลิต สินค้าประเภทข้าว 


 
ตลาดองุ่นสด

 
 
ความยากจน


 
พ.ศ. 2539 คุณพ่อ สุขวิช รังสิตพล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ได้มีนโยบายปฏิรูปการศึกษาเกษตรเพื่อชีวิต โดยรับผู้จบการศึกษาชั้น ม.3  จากโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สปช.) เข้าเรียนหลักสูตร  ปวช.สาขาเกษตรศาสตร์  โดยยกเว้นค่าเล่าเรียนตลอดระยะเวลา  3  ปีที่เรียน      และให้เป็นนักเรียนประจำได้รับเงินอุดหนุน 5,000 บาทต่อปี

 
วันที่  26  กันยายน  2539  กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้วิทยาลัยเกษตรกรรมทั่วประเทศ  เปลี่ยนชื่อเป็นวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี  วิทยาลัยจึงใช้ชื่อว่าวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี มาตั้งแต่บัดนั้น

 
โครงการเรียนฟรี อยู่ประจำ ทำโครงการ หรือเกษตรเพื่อชีวิต ของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ผ่านมา เกือบ 30 ปีแล้ว แต่ไม่มีการต่อยอด เกษตรและเทคโนโลยี ตามเจตนารมณ์ของชื่อวิทยาลัย

และ
 
นอกจากนี้ใน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยได้จัดทำโครงการเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง  สาขาพืชศาสตร์ ร่วมกับ (ARAVA)  INTERNATIONAL CENTER FOR AGRICULTURAL TRAINING ( AICAT ) ประเทศอิสราเอล ตั้งแต่ปีการศึกษา2539 ไม่มีการขยายความร่วมมือด้านเกษตรกับประเทศอื่น และ เปลี่ยนการฝึกงานการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิต ด้วยเกษตรและเทคโนโลยี ประเทศอิสราเอล กลายเป็นไปทำงานรับค่าแรงงขั้นต่ำ ในอิสราเอล แม้กระทั่งมีสงคราม นับเป็นยุคซึ่งสิ้นหวังของเกษตรกรไทย เพราะ 30 ปี ผ่านไปกลับถอยหลัง 
 
รูปภาพผลผลิตองุ่น และ ภูมิประเทศ ในจังหวัดซึ่งวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตั้งอยู่ พร้อมทั้งภาพประกอบไร่องุ่น จากต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมรายได้ของประชาชน และ สนับสนุนการท่องเที่ยวของประเทศ


 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ข้าพเจ้าหวังว่าวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีในภาคอีสาน จะใช้เทคโนโลยีพัฒนาการเกษตร เพื่อภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างยั่งยืน และ เป็นรูปธรรมในอนาคต สมดังเจตนารมณ์ของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ผู้ พลิกโฉม โรงเรียนเกษตรกรรมอันล้าหลัง เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกรไทย  ด้วยการยกฐานะเป็นวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เพื่อ สนับสนุน และ ส่งเสริม อุตสาหกรรมเกษตร และ เกษตรอุตสาหกรรม โดยมีเป้าหมายให้ประเทศไทยเป็นประเทศมีรายได้สูง จากการเป็นแหล่งผลิตอาหารโลก
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีร้อยเอ็ด  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาเครื่องกล
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาเกษตรศาตร์
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาช่างกลเกษตร
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาช่างกลเกษตร
สาขาวิชาประมง (เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ)
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ศูนย์การเรียนหนองเรือ)
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาการบัญชี (ศูนย์การเรียนหนองเรือ)
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาช่างกลเกษตร
สาขาวิชาประมง (เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ)
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
สาขาวิชาธุรกิจเกษตรและสหกรณ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ศูนย์การเรียนหนองเรือ)
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาการบัญชี (ศูนย์การเรียนหนองเรือ)
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชัยภูมิ  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาเครื่องกล
สาขาวิชาพณิชยการ
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาชาวิชาอาหารและโภชนาการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาช่างกลเกษตร
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาพณิชยการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาเทคโนโลยีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบุรีรัมย์  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาพณิชยการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาเกษตรศาตร์
สาขาวิชาเกษตรอุตสาหกรรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาช่างกลเกษตร
สาขาวิชาเทคโนโลยีภูมิทัศน์
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาพณิชยการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ
สาขาวิชาเกษตรศาตร์
สาขาวิชาเกษตรอุตสาหกรรม
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาพณิชยการ
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาเกษตรศาตร์
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาช่างกลเกษตร
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาพณิชยการ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาเกษตรศาตร์
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาช่างกลเกษตร
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาขาวิชาสัตวรักษ์
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุดรธานี  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาเครื่องกล
สาขาวิชาพณิชยการ
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
หลักสูตรปรกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาเกษตรศาตร์
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สาขาวิชาช่างกลเกษตร
สาขาวิชาพืชศาสตร์
สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สาขาวิชาสัตวศาสตร์
สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
สาขาวิชาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
 
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี  หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาพณิชยการ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่