หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
โยนเหรียญหัวก้อย คุณคิดว่ามันน่าจะมีโอกาสออกหัวหรือก้อยเท่าๆกันใช่ไหม (ขอตั้งกระทู้ใหม่ กระทู้เก่าถูกDe-Index)
กระทู้สนทนา
วิทยาศาสตร์
โยนเหรียญหัวก้อย คุณคิดว่ามันน่าจะมีโอกาสออกหัวหรือก้อยเท่าๆกันใช่ไหม
แต่แปลก จากการที่เราเคยโยนมาตอนเป็นวัยรุ่น เหรียญมักจะออกหัวมากกว่าก้อย
เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ อาจเป็นเพราะเหรียญด้านหัวนูนกว่ารึเปล่าก็ไม่รู้
ไม่ได้เก็บสถิติไว้ จะเก็บตอนนี้ก็ก้มเก็บเหรียญไม่ค่อยไหวแล้ว
ใครไม่เคยลอง ลองดูได้
จะทดลองใช้เหรียญจากต่างประเทศที่สะสมไว้ ทดลองโยนเพื่อหาค่าความต่างตามหลักวิทยาศาสตร์เพื่อพิสูจน์ความจริงด้วยก็ดี
รูป จากกูเกิ้ล
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
สงสัยครับ ทำไมคณิตศาสตร์ถึงอยู่เหนือทุกศาสตร์?
พอดีไปเห็นรูปๆนึง Math วาดให้เป็นคนนั่งอยู่บนบังลังก์ เหนือกว่าศาสตร์อื่นๆ ผมเลยสงสัยว่าทำไมถึงเป็นแบบนั้น แต่เท่าที่จำได้ ในบรรดาวิชาทั้งหมด ที่มีสอนในโรงเรียน คณิตศาสตร์จะเป็นวิชาที่มีคนเก่งน้อยที
HMC
เครื่องบินโดยสารความเร็วเหนือเสียงของจีนที่สามารถบินได้ด้วยความเร็วระดับมัค 4 เสร็จสิ้นเที่ยวบินแรกแล้ว
China's supersonic passenger jet that can fly at Mach 4. Already completed first flight. Full-sized passenger jet r
สมาชิกหมายเลข 8449581
ทำไมน๊อ... ยุคนี้สมัยนี้ ยังมีคนขับรถมาถามทางในพันทิปอยู่อีก โทรศัพท์ก็มี ใช้Google mapsไม่เป็นเหรอ
ทำไมน๊อ... ยุคนี้สมัยนี้ ยังมีคนขับรถมาถามทางในพันทิปอยู่อีก โทรศัพท์ก็มี Web Browserก็มี ใช้Google mapsไม่เป็นเหรอ
ต้นโพธิ์ต้นไทร
รู้หรือไม่ นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า แสงอาทิตย์นั้น...
มาจากดวงอาทิตย์ หรือพระอาทิตย์นั่นเอง .... และมันก็มีความร้อนสูงด้วยนะ ....
ผัดมาม่าใส่ผักบุ้งกุ้งสองตัว
ประเทศไทยเรา เน้นผลิตสินค้า แบบ Minimal philosophy ได้หรือเปล่าครับ ต้องออกแบบหลักสูตรการเรียนใหม่หรือเปล่า
ประเทศไทยเรา เน้นผลิตสินค้า แบบ Minimal philosophy ได้หรือเปล่าครับ ต้องออกแบบหลักสูตรการเรียนใหม่หรือเปล่า พอดีถาม Gemini AI ปรัชญา Minimal Philosophy ของ
ดวงตาตะวัน
มีตัวจริง1คน โคลน2คน ถ้าโยนเหรียญได้หัวจะปลุกตัวจริงแต่ก้อยปลุกโคลนคุณตื่นมาถามว่ามีโอกาสเท่าไหร่ที่คุณจะเป็นโคลน
มนุษย์คนหนึ่งถูกนำไปทดลอง นักวิทยาศาสตร์สร้างตัวก๊อปปี้ขึ้นมาอีก 2 คน รวมเป็น 3 คน ทั้งตัวจริงแล้วตัวก๊อปปี้(โคลน) ไม่ทราบว่าใครเป็นใครเพราะหน้าตาและความทรงจำเหมือนกันทั้งหมด คุณเป็นหนึ่งใน 3 คนนี้ แต
สมาชิกหมายเลข 3992098
โยนเหรียญ1เหรียญ4ครั้ง และสนใจจำนวนครั้งที่ขึ้นก้อยแล้ว n(S)ของการทดลองสุ่มนี้ตรงกับข้อใด
เฉลยมันได้16อ่ะค่ะ แต่หนูคิดยังไงก็ไม่ได้16😅 ช่วยหน่อยนะคะ🥺 ขอบคุณค่า🙏💕
สมาชิกหมายเลข 4805467
โยนเหรียญอันหนึ่ง 7 ครั้ง มีวิธีที่จะได้หัว 4 ครั้ง และก้อย 3 ครั้ง
เราไม่ค่อยเข้าใจคำถามนี้ค่ะ เลยอยากจะถามว่าวิธีทำมันเป็นยังไงคะ
สมาชิกหมายเลข 7440280
ทำไมเราถึงใช้หนูทดลอง
เหตุผลที่หนูเหมาะแก่การทดลองทางวิทยาศาสตร์ หนู (โดยเฉพาะหนูแล็บหรือ หนูขาว) เป็นสัตว์ที่ถูกนำมาใช้ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์มาอย่างยาวนาน เนื่องจากมีลักษณะและคุณสมบัติที่เหมาะสมในหลายด้าน ดังนี้: ทำไมเ
เดอะบุ๊คออฟ
การพนันโอกาสได้เสีย 50-50 แต่ทำไมส่วนใหญ่คนเล่นจึงเสียครับ
ถ้าเราไม่มองในมุมของศาสนา บาปบุญคุณโทษ มองแค่ในมุมของวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โอกาสความน่าจะเป็น การพนันมีโอกาสได้กับเสียเท่าๆ กันคือ 50 - 50 เช่น โยนหัว โยนก้อย หรือ สูงกับต่ำ ซึ่งถ้ามองตามหลักคว
สมาชิกหมายเลข 705747
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
โยนเหรียญหัวก้อย คุณคิดว่ามันน่าจะมีโอกาสออกหัวหรือก้อยเท่าๆกันใช่ไหม (ขอตั้งกระทู้ใหม่ กระทู้เก่าถูกDe-Index)
แต่แปลก จากการที่เราเคยโยนมาตอนเป็นวัยรุ่น เหรียญมักจะออกหัวมากกว่าก้อย
เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ อาจเป็นเพราะเหรียญด้านหัวนูนกว่ารึเปล่าก็ไม่รู้
ไม่ได้เก็บสถิติไว้ จะเก็บตอนนี้ก็ก้มเก็บเหรียญไม่ค่อยไหวแล้ว
ใครไม่เคยลอง ลองดูได้
จะทดลองใช้เหรียญจากต่างประเทศที่สะสมไว้ ทดลองโยนเพื่อหาค่าความต่างตามหลักวิทยาศาสตร์เพื่อพิสูจน์ความจริงด้วยก็ดี
รูป จากกูเกิ้ล