(1)ถึงสภาวะหนึ่ง จิตจะตั้งมั่น เป็นหนึ่ง ใจรู้เกิดที่ไหน ดับที่นั่น ใจรู้(สติ)กับความรู้สึกว่างของจิตกลืนเป็นอันเดียวกัน ทำหน้าที่เป็นสติขณะต่อไป
มีแผ่นบางใสของเจตสิก ห่อหุ้มคลุมรอบกาย แผ่นบางใสของเจตสิกคือใจรู้หรือสติในขณะต่อไป(จิต เจตสิก ทำหน้าที่) ด้วยความไวของสติเมื่อมีอาการทางขันธ์5เกิดขึ้นมา จะมีใจรู้ไปตามรู้ ตามอาการที่ผุดขึ้นมาในจิต และทั้งใจรู้และอาการเมื่อเกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไปด้วยกันทันที จึงไม่มีความรู้สึกแยกตัวตนเราเขาในสภาวะนี้ มีความรู้สึกว่า รูปนามแยกกันอยู่ ไม่ได้เป็นอันเดียวกัน ดังน้ำใสกับcolloid
ทุกอย่างจึงเกิดขึ้นมาในความว่างของจิต ดับไปในความว่างของจิต
(2) เมื่อต้องการให้จิตทำงาน ก็เอาใจที่ว่างเบานี้ไปรู้อาการทางขันธ์5 ที่ไหว เคลื่อนอยู่ที่รูปและที่นามนี้ ทั้งการสั่งงาน มีกิริยาอะไร แม้แต่ความคิดจิตจึงรู้ก่อน ทั้งจิตที่สั่งงานและอาการต่างก็ดับไปด้วยกันเป็นขณะๆ เหลือแต่ความรู้สึกที่ว่างเบา สมดังคำ "ดับไม่มีอะไรเหลือ"
ถึงสภาวะหนึ่ง
มีแผ่นบางใสของเจตสิก ห่อหุ้มคลุมรอบกาย แผ่นบางใสของเจตสิกคือใจรู้หรือสติในขณะต่อไป(จิต เจตสิก ทำหน้าที่) ด้วยความไวของสติเมื่อมีอาการทางขันธ์5เกิดขึ้นมา จะมีใจรู้ไปตามรู้ ตามอาการที่ผุดขึ้นมาในจิต และทั้งใจรู้และอาการเมื่อเกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไปด้วยกันทันที จึงไม่มีความรู้สึกแยกตัวตนเราเขาในสภาวะนี้ มีความรู้สึกว่า รูปนามแยกกันอยู่ ไม่ได้เป็นอันเดียวกัน ดังน้ำใสกับcolloid
ทุกอย่างจึงเกิดขึ้นมาในความว่างของจิต ดับไปในความว่างของจิต
(2) เมื่อต้องการให้จิตทำงาน ก็เอาใจที่ว่างเบานี้ไปรู้อาการทางขันธ์5 ที่ไหว เคลื่อนอยู่ที่รูปและที่นามนี้ ทั้งการสั่งงาน มีกิริยาอะไร แม้แต่ความคิดจิตจึงรู้ก่อน ทั้งจิตที่สั่งงานและอาการต่างก็ดับไปด้วยกันเป็นขณะๆ เหลือแต่ความรู้สึกที่ว่างเบา สมดังคำ "ดับไม่มีอะไรเหลือ"