พูดได้เต็มปากว่าบริษัท OR เจ้าของแบรนด์ใหญ่อย่างเท็กซัสชิกเก้น งั้นต้องถอยทัพหนีอย่างไม่เป็นท่า เพราะว่า ไม่สามารถจะแข่งกับเจ้าตลาด ไก่ทอดอย่างเคเอฟซีได้
ในปี 2566 มูลค่าตลาดไก่ทอดในประเทศไทยอยู่ที่ประมาณ 25,000 ถึง 31,000 ล้านบาท โดยตลาดนี้มีการแข่งขันที่สูงมาก ไม่เพียงแค่แบรนด์ใหญ่ๆ เช่น KFC หรือ Bonchon เท่านั้น แต่ยังมีผู้เล่นรายย่อยที่เข้ามาชิงส่วนแบ่งตลาดด้วย เช่น ร้านแฟรนไชส์ และร้านอาหารท้องถิ่น
ทั้งนี้ KFC ยังคงครองส่วนแบ่งการตลาดใหญ่ที่สุด โดยมีการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง และใช้กลยุทธ์เพิ่มความถี่ในการมาใช้บริการของลูกค้า เพื่อผลักดันรายได้ให้เติบโตขึ้น จะว่าไปแล้วเค้าก็มีส่วนแบ่งการตลาดมากถึง 90% เลยทีเดียว
-----
การเข้ามาของ Texas Chicken ในตลาดไก่ทอดของไทยสร้างความท้าทายให้กับผู้เล่นรายใหญ่ เช่น KFC และ Bonchon โดย Texas Chicken เน้นกลยุทธ์ราคาแข่งขันที่ถูกกว่าและเมนูที่แตกต่างจากคู่แข่ง อย่างไรก็ตาม แม้จะเปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่ในปี 2557 และมีการขยายสาขาไปมากกว่า 100 แห่ง แต่ Texas Chicken ก็ต้องเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงจากแบรนด์ไก่ทอดที่มีชื่อเสียงและครองตลาดมาเป็นเวลานาน จนในที่สุดตัดสินใจถอนตัวออกจากตลาดไทย
โดยจะเปิดขายวันสุดท้ายทุกสาขาในวันที่ 30 กันยายนนี้
ผลกระทบหลักจากการเข้ามาของ Texas Chicken คือการกระตุ้นให้คู่แข่งในตลาดต้องปรับกลยุทธ์ เช่น การพัฒนาสูตรไก่และเพิ่มเมนูใหม่ๆ เพื่อรักษาฐานลูกค้า นอกจากนี้ยังทำให้การแข่งขันด้านราคาเข้มข้นขึ้น และทำให้ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้นในหมวดอาหารบริการด่วน (QSR)
-----
อย่างไรก็ตามผลกระทบจากการยกเลิกการให้บริการของเท็กซัสชิกเก้นก็ทำให้ ผู้ถือหุ้นในส่วนของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์อย่าง OR ก็มีหนาวมีร้อนไปตามๆกัน
เพราะราคาหุ้นในตอนนี้ก็ยังมีราคาที่ต่ำกว่าการเปิดไอพีโอวันแรกสะอีก แล้วต้องมาเจอกับการปิดตัวของเท็กซัสชิคเก้น ไม่รู้ว่าจะสามารถวิ่งทะลุ ไปได้สักเท่าไหร่
-----
จะบอกตามตรงว่าถ้าพูดถึงเรื่องรสชาติโอเคมันอาจจะไม่ถูกปากคนไทยเหมือนกับเคเอฟซีนักแต่ว่า ยังมีการเปิดสูตรต่างๆมากมายมากมายในระหว่างที่เท็กซัสชิกเค่นเปิดในประเทศไทยและก็เปิดในปั๊มปตท.
ส่วนตัวในหลายๆเมนูไก่ ก็โอเคอยู่ แอบใจหายเหมือนกัน เพราะว่าตอนเย็นมักจะแวะเติมน้ำมันที่ปั๊มปตท และก็แวะแวะซื้อไก่ทอดในร้านเท็กซัสชิกเก้นอยู่บ่อยๆ ตอนนี้ก็ต้องมาดูกันต่อไป ว่าจะมีกลยุทธ์แค่เกมเพื่อดึงราคาของ OR ให้เพิ่มขึ้นมากกว่านี้
เท็กซัสชิคเก้น การตลาดที่พ่ายแพ้ให้แก่แบรนด์ใหญ่
พูดได้เต็มปากว่าบริษัท OR เจ้าของแบรนด์ใหญ่อย่างเท็กซัสชิกเก้น งั้นต้องถอยทัพหนีอย่างไม่เป็นท่า เพราะว่า ไม่สามารถจะแข่งกับเจ้าตลาด ไก่ทอดอย่างเคเอฟซีได้
ในปี 2566 มูลค่าตลาดไก่ทอดในประเทศไทยอยู่ที่ประมาณ 25,000 ถึง 31,000 ล้านบาท โดยตลาดนี้มีการแข่งขันที่สูงมาก ไม่เพียงแค่แบรนด์ใหญ่ๆ เช่น KFC หรือ Bonchon เท่านั้น แต่ยังมีผู้เล่นรายย่อยที่เข้ามาชิงส่วนแบ่งตลาดด้วย เช่น ร้านแฟรนไชส์ และร้านอาหารท้องถิ่น
ทั้งนี้ KFC ยังคงครองส่วนแบ่งการตลาดใหญ่ที่สุด โดยมีการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง และใช้กลยุทธ์เพิ่มความถี่ในการมาใช้บริการของลูกค้า เพื่อผลักดันรายได้ให้เติบโตขึ้น จะว่าไปแล้วเค้าก็มีส่วนแบ่งการตลาดมากถึง 90% เลยทีเดียว
-----
การเข้ามาของ Texas Chicken ในตลาดไก่ทอดของไทยสร้างความท้าทายให้กับผู้เล่นรายใหญ่ เช่น KFC และ Bonchon โดย Texas Chicken เน้นกลยุทธ์ราคาแข่งขันที่ถูกกว่าและเมนูที่แตกต่างจากคู่แข่ง อย่างไรก็ตาม แม้จะเปิดตัวอย่างยิ่งใหญ่ในปี 2557 และมีการขยายสาขาไปมากกว่า 100 แห่ง แต่ Texas Chicken ก็ต้องเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงจากแบรนด์ไก่ทอดที่มีชื่อเสียงและครองตลาดมาเป็นเวลานาน จนในที่สุดตัดสินใจถอนตัวออกจากตลาดไทย
โดยจะเปิดขายวันสุดท้ายทุกสาขาในวันที่ 30 กันยายนนี้
ผลกระทบหลักจากการเข้ามาของ Texas Chicken คือการกระตุ้นให้คู่แข่งในตลาดต้องปรับกลยุทธ์ เช่น การพัฒนาสูตรไก่และเพิ่มเมนูใหม่ๆ เพื่อรักษาฐานลูกค้า นอกจากนี้ยังทำให้การแข่งขันด้านราคาเข้มข้นขึ้น และทำให้ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้นในหมวดอาหารบริการด่วน (QSR)
-----
อย่างไรก็ตามผลกระทบจากการยกเลิกการให้บริการของเท็กซัสชิกเก้นก็ทำให้ ผู้ถือหุ้นในส่วนของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์อย่าง OR ก็มีหนาวมีร้อนไปตามๆกัน
เพราะราคาหุ้นในตอนนี้ก็ยังมีราคาที่ต่ำกว่าการเปิดไอพีโอวันแรกสะอีก แล้วต้องมาเจอกับการปิดตัวของเท็กซัสชิคเก้น ไม่รู้ว่าจะสามารถวิ่งทะลุ ไปได้สักเท่าไหร่
-----
จะบอกตามตรงว่าถ้าพูดถึงเรื่องรสชาติโอเคมันอาจจะไม่ถูกปากคนไทยเหมือนกับเคเอฟซีนักแต่ว่า ยังมีการเปิดสูตรต่างๆมากมายมากมายในระหว่างที่เท็กซัสชิกเค่นเปิดในประเทศไทยและก็เปิดในปั๊มปตท.
ส่วนตัวในหลายๆเมนูไก่ ก็โอเคอยู่ แอบใจหายเหมือนกัน เพราะว่าตอนเย็นมักจะแวะเติมน้ำมันที่ปั๊มปตท และก็แวะแวะซื้อไก่ทอดในร้านเท็กซัสชิกเก้นอยู่บ่อยๆ ตอนนี้ก็ต้องมาดูกันต่อไป ว่าจะมีกลยุทธ์แค่เกมเพื่อดึงราคาของ OR ให้เพิ่มขึ้นมากกว่านี้