1) การเลือกตั้ง หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 9
2) ดูแลการก่อตั้ง โรงเรียนวิวัฒน์พลเมือง ในหน่วยราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม เพื่อนำผู้ต้องขังคดียาเสพติดไม่ร้ายแรง
การปฏิรูปกองทัพ ระหว่าง ปี 2538 ถึง ปี 2540
1) การยกเลิกการเกณฑ์ทหารแบบเบ็ดเสร็จ
2) การแต่งตั้งนายพลหญิง ❛ เพื่อความเสมอทางวิชาชีพ ❜
3) โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนดของข้าราชการกระทรวงกลาโหม เพื่อปรับลดขนาดกองทัพ
กองทัพถือเป็นสถาบันสำคัญและทรงอำนาจไม่ว่าจะพิจารณาในแง่ของจำนวนบุคลากร การครอบครองอาวุธยุทธปกรณ์ เทคโนโลยี งบประมาณ หรือโดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทบาทของกองทัพในทางการเมือง ซึ่งมิอาจปฏิเสธได้ว่ากองทัพ หรือ บุคลากรของกองทัพได้มีอิทธิพลหรือมีส่วนในการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สำคัญมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง
ตราบจนปัจจุบันกองทัพยังคงถูกมองว่าเป็นตัวแสดงหรือตัวแปรสำคัญทางการเมือง โดยนอกจากบทบาทหน้าที่ในการปกป้องอธิปไตยของประเทศชาติแล้ว การแสดงบทบาทท่าทีของกองทัพยังเป็นสัญญาณที่บ่งชี้ถึงเสถียรภาพของรัฐบาล สิ่งเหล่านี้จึงก่อให้เกิดข้อวิพากษ์วิจารณ์ถึงบทบาทหน้าที่ของกองทัพอันนำไปสู่ข้อเสนอเรื่องการปฏิรูปกองทัพที่ถูกหยิบยกขึ้นมากล่าวถึง
และกลายเป็นประเด็นที่ถกเถียงอยู่ในสังคมเป็นระยะ ในช่วงการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ.2562 ที่ผ่านมา ประเด็นเกี่ยวกับการปฏิรูปกองทัพซึ่งถูกนำเสนอขึ้นโดยพรรคการเมืองเพื่อใช้เป็นนโยบายในการสู้ศึกเลือกตั้งนั้น ได้กลายเป็นประเด็นถกเถียงที่สำคัญทั้งระหว่างรัฐบาลกับบรรดาพรรคการเมือง แวดวงวิชาการ สื่อมวลชน ตลอดจนประชาชนทั่วไป
ขณะเดียวกันก็ได้มีปฏิกิริยาจากผู้นำของกองทัพ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเป็นไปในทิศทางการปฏิเสธแนวทางข้อเสนอเรื่องการปฏิรูปของบรรดาพรรคการเมืองและแวดวงวิชาการ
โล่ห์ ที่ระลึก ความร่ามมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (JICA)
ที่มา https://www.jsce.or.jp/e/archive/project/pj17.html
พรรคประชาธิปัตย์
2) ดูแลการก่อตั้ง โรงเรียนวิวัฒน์พลเมือง ในหน่วยราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม เพื่อนำผู้ต้องขังคดียาเสพติดไม่ร้ายแรง
การปฏิรูปกองทัพ ระหว่าง ปี 2538 ถึง ปี 2540
1) การยกเลิกการเกณฑ์ทหารแบบเบ็ดเสร็จ
2) การแต่งตั้งนายพลหญิง ❛ เพื่อความเสมอทางวิชาชีพ ❜
3) โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนดของข้าราชการกระทรวงกลาโหม เพื่อปรับลดขนาดกองทัพ
กองทัพถือเป็นสถาบันสำคัญและทรงอำนาจไม่ว่าจะพิจารณาในแง่ของจำนวนบุคลากร การครอบครองอาวุธยุทธปกรณ์ เทคโนโลยี งบประมาณ หรือโดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทบาทของกองทัพในทางการเมือง ซึ่งมิอาจปฏิเสธได้ว่ากองทัพ หรือ บุคลากรของกองทัพได้มีอิทธิพลหรือมีส่วนในการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สำคัญมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง
ตราบจนปัจจุบันกองทัพยังคงถูกมองว่าเป็นตัวแสดงหรือตัวแปรสำคัญทางการเมือง โดยนอกจากบทบาทหน้าที่ในการปกป้องอธิปไตยของประเทศชาติแล้ว การแสดงบทบาทท่าทีของกองทัพยังเป็นสัญญาณที่บ่งชี้ถึงเสถียรภาพของรัฐบาล สิ่งเหล่านี้จึงก่อให้เกิดข้อวิพากษ์วิจารณ์ถึงบทบาทหน้าที่ของกองทัพอันนำไปสู่ข้อเสนอเรื่องการปฏิรูปกองทัพที่ถูกหยิบยกขึ้นมากล่าวถึง
และกลายเป็นประเด็นที่ถกเถียงอยู่ในสังคมเป็นระยะ ในช่วงการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ.2562 ที่ผ่านมา ประเด็นเกี่ยวกับการปฏิรูปกองทัพซึ่งถูกนำเสนอขึ้นโดยพรรคการเมืองเพื่อใช้เป็นนโยบายในการสู้ศึกเลือกตั้งนั้น ได้กลายเป็นประเด็นถกเถียงที่สำคัญทั้งระหว่างรัฐบาลกับบรรดาพรรคการเมือง แวดวงวิชาการ สื่อมวลชน ตลอดจนประชาชนทั่วไป
ขณะเดียวกันก็ได้มีปฏิกิริยาจากผู้นำของกองทัพ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเป็นไปในทิศทางการปฏิเสธแนวทางข้อเสนอเรื่องการปฏิรูปของบรรดาพรรคการเมืองและแวดวงวิชาการ
โล่ห์ ที่ระลึก ความร่ามมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (JICA)
ที่มา https://www.jsce.or.jp/e/archive/project/pj17.html