.
.
The Great Panjandrum at Westward Ho!
.
.
.
Panjandrum
.
.
ในปี ค.ศ. 1941
รัฐบาลแห่งสหราชอาณาจักรได้จัดตั้ง
Department of Miscellaneous Weapons Development (DMWD)
หน่วยงานเฉพาะกิจชั่วคราว
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
เพื่อค้นหาวิธีการใหม่ ๆ ที่แหวกแนว
ในการสังหารศัตรู และสนับสนุนในการรบ
ความพยายามของ DMWD นี้
ได้สร้างสิ่งประดิษฐ์ที่มีประโยชน์ต่าง ๆ เช่น
Hedgehog อาวุธต่อต้านเรือดำน้ำ
.
.
.
.
.
.
Squid ปืนครกต่อต้านเรือดำน้ำ
.
.
.
.
.
เช่นเดียวกับ
Holman Projector
.
.
.
.
.
.
Wren N S Hopkins จาก London
กำลังจะใช้งาน Holman projector ที่ติดตั้งบน
Defensively Equipped Merchant Ship
ที่เมืองท่า Cardiff
.
.
.
Z Battery ต่อต้านอากาศยาน
.
.
.
.
.
.
.
Degaussing เครื่องทำลายสนามแม่เหล็ก
ที่มักติดกับทุ่นระเบิดลอยลำ/จมอยู่ในทะเล
.
.
.
หน้าปัดอุปกรณ์เครื่อง MES-device
(Magnetischer Eigenschutz
German : เครื่องป้องกันตนเองจากแม่เหล็ก)
ภายในเรือดำน้ำของนาซีเยอรมัน
.
.
.
RMS Queen Mary มาถึง New York Harbor
20 มิถุนายน 1945 พร้อมทหารสหรัฐฯ
มีการติดตั้ง Degaussing รอบกาบเรือ
.
.
.
.
.
DMWD ยังสร้าง
Bouncing bomb
ลูกระเบิดเด้งดึ๋ง/กระเด็นกระดอนได้
ถูกนำมาใช้ทำลายเขื่อนนาซีเยอรมัน
ในยุทธการ
Dambusters Raid
ในปี ค.ศ.1943
ที่ประสบความสำเร็จอย่างแรง
.
.
.
Bouncing bomb
.
.
เครื่องบินบรรทุกระเบิดแค่ลูกเดียว
.
.
สภาพเขื่อนหลังถูกระเบิด
.
.
สภาพเขื่อนหลังถูกระเบิด
.
.
ภาพจำลองการทิ้งระเบิด
.
.
ภาพการทิ้งระเบิด
หลังจากเครื่องบินลำอื่นล่อเป้าไปก่อน
.
.
บทบาทสำคัญ DMWD นี้คือ
ในการพัฒนาบางส่วนของ
ท่าเรือ Mulberry ลอยน้ำ/เคลื่อนที่ได้
ที่ใช้ในวันยกพลขึ้นบกในวัน
D - Day
.
.
.
งานก่อสร้างท่าเรือบนบก
.
.
.
ท่าเรือในสนามรบ
.
.
.
ท่าเรือในสนามรบ
.
.
.
สภาพพังทะลายของ Mulberry A
เพราะพายุช่วง 19–22 มิถุนายน 1944
.
.
.
.
.
แม้ว่าหน่วยงานนี้จะประสบความสำเร็จ
กับสิ่งประดิษย์ยามสงครามเหล่านี้
แต่ไม่ใช่ทุกโครงการของ DMWD
ที่จะประสบผลสำเร็จทุกครั้ง เช่น
ความพยายามที่จะปกปิดแม่น้ำเทมส์
จากเครื่องบินทิ้งระเบิดของเยอรมัน
ด้วยการทำให้แม่น้ำเทมส์
ปกคลุมไปด้วยเขม่าควันล้มเหลว
เพราะผลกระทบของลมและกระแสน้ำ
จนทำให้เกิดความสับสน/ไม่แน่ใจ
เมื่อน้ำทะเลที่ปกคลุมไปด้วยถ่านหิน
ถูกเข้าใจผิดว่าเป็นพื้นแอสฟัลต์(ยางมะตอย)
ในช่วงไฟดับยามสงคราม
แต่โครงการที่ล้มเหลวที่สุดคือ
Panjandrum
ชื่อที่ได้รับแรงบันดาลใจ
จากตัวละครในร้อยแก้วไร้สาระของ
Samuel Foote
ของนักเขียนบทละครชาวอังกฤษในศตวรรษ 18
.
.
Panjandrum มีล้อคู่ขนาดใหญ่
แต่ละล้อมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 ฟุต
มีถังเหล็กตรงกลางบรรทุกระเบิดได้หลายตัน
รอบขอบล้อนั้นมีจรวด
Cordite
ดินขับระเบิด/ดินปืนของอังกฤษ
.
.
.
.
.
.
จรวด Cordite ที่ออกแบบมาเฉพาะ
เพื่อหมุนเครื่องจักรสังหาร
โดยขับเคลื่อนไปยังแนวป้องกัน
ชายหาดคอนกรีตแนวชายฝั่งฝรั่งเศส
โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างช่องโหว่ขนาดใหญ่
ผู้ออกแบบประเมินว่า Panjandrum
ที่บรรทุกสัมภาระเต็มพิกัด 1,800 กิโลกรัม
สามารถทำความเร็วได้ประมาณ 100 กม./ชม.
โดยมีแรงผลักดันเพียงพอที่จะชนผ่าน
สิ่งกีดขวางระหว่างจุดเริ่มต้นและเป้าหมาย
ในช่วงปลายปี ค.ศ. 1943
ต้นแบบของ Panjandrum ถูกสร้างขึ้น
ในลอนดอนและขนส่งอย่างลับ ๆ
ในตอนกลางคืนไปยังหมู่บ้านเล็ก ๆ
Westward Ho! บนชายฝั่งทางใต้
แต่การเลือกพื้นที่ทดสอบกลับไม่ค่อยดีนัก
ทางทิศตะวันตก Westward Ho!
เป็นรีสอร์ทริมทะเลยอดนิยม
ในเช้าวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 1943
เมื่ออุปกรณ์ถูกกลิ้งไปที่ชายหาด
ก็เต็มไปด้วยผู้คนที่เที่ยวชายหาด
ชาวบ้านและนักท่องเที่ยวต่างรุมล้อม
อุปกรณ์ด้วยความสนใจอย่างสับสน
การทดลองเริ่มต้นด้วย
การใช้จรวด Cordite
เพียงไม่กี่ตัวติดอยู่บนล้อ
และน้ำหนักบรรทุกก็จำลอง
ด้วยทรายที่มีน้ำหนักเท่ากัน
จรวดถูกจุดติดขึ้นมาแล้ว
Panjandrum ก็พุ่งไปข้างหน้า
โดยออกจากยานลงจอด
ที่ใช้เป็นแท่นปล่อยจรวด
และอยู่ห่างจากชายหาด
เป็นระยะทางพอสมควร
แต่จรวดจำนวนหนึ่งบนล้อข้างหนึ่งล้มเหลว
ทำให้อาวุธหลุดออกนอกเส้นทาง
แม้จะพยายามยิงจรวดเพิ่มอีกหลายครั้ง
แต่ Panjandrum ก็สูญเสียการควบคุม
เสียหายอย่างต่อเนื่อง
ก่อนที่จะถึงปลายชายหาด
.
.
.
.
.
.
เพื่อแก้ปัญหาเสถียรภาพเครื่องจักรสังหาร
Nevil Shute Norwegian หัวหน้าโครงการ
ได้ติดตั้งล้อที่สามเข้ากับ Panjandrum
เมื่อทดลองอีกครั้ง
อุปกรณ์ดังกล่าวก็พุ่งเข้าหาชายฝั่ง
แล่นผ่านชายหาดก่อนจะหันกลับออกสู่ทะเล
จรวดแยกออกและฟาดอย่างดุเดือด
เหนือหัวของผู้ชมที่รวมตัวกัน
บางส่วนก็ลงในทะเลเป็นระเบิดใต้น้ำ
มีการจัดการทดลองเพิ่มเติม
คราวนี้ถอดล้อที่สามออก
และติดสายเคเบิลหนักไว้
ที่ปลายแต่ละด้านของดุมล้อ
โดยยึดไว้ด้วยกว้านสองตัว
โดยหวังว่าจะสามารถบังคับอุปกรณ์
ให้ขึ้นชายหาดได้อย่างปลอดภัย
แต่ Panjandrum ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า
มีพลังมากเกินไป โดยดึงหักสายเคเบิลฉีกขาด
แล้วเหวี่ยงกลับข้ามชายหาด
เมื่อถึงเวลานั้นก็เห็นได้ชัดว่า
Panjandrum นั้นใช้งานไม่ได้อย่างมาก
แต่ฝ่ายผู้อำนวยการก็พยายามต่อไป
และหลังจากซ่อมแซมต่อไปอีก
สองสามสัปดาห์ต่อมา
วิศวกรก็เตรียมเวอร์ชันพิเศษ
ที่ได้รับการปรับปรุงตามที่คาดคะเนไว้
ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1944
เจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาล
และสมาชิกอาวุโสหลายคนของกองทัพ
ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการทดสอบที่มีชื่อเสียง
.
.
Brian Johnson บรรยาย
ถึงวิธีการทดสอบในสารคดี BBC ปี 1977
เรื่อง The Secret War :
" ในตอนแรกทุกอย่างเป็นไปด้วยดี
Panjandrum กลิ้งขึ้นจากชายหาดใกล้ทะเล
แล้วเริ่มมุ่งหน้าไปยังฝั่งผู้บริหารระดับสูง
ที่มองผ่านกล้องส่องทางไกล
จากยอดสันเขาหินกรวด Westward Ho!
[... ] จากนั้นตัวยึดหนีบจรวดชุดแรก
จรวดอีกสองลูกก็หลุดออกไป
Panjandrum เริ่มเซถลา เป็นลางไม่ดี
มันกระทบกับหลุมอุกกาบาตเล็ก ๆ
(กลุ่มก้อนหิน) บนผืนทราย
แล้วเริ่มหันไปทางกาบขวา
โดยมุ่งหน้าสู่
Louis Klemantaski
ช่างภาพซึ่งมองเหตุการณ์ผ่านเลนส์ยืดกลัอง
แต่ตัดสินระยะทางผิดและถ่ายทำต่อไป
เมื่อได้ยินเสียงคำรามใกล้เข้ามา
ช่างภาพก็เงยหน้าขึ้นจากช่องมองภาพ
เพื่อดู Panjandrum ปล่อยจรวด
พุ่งออกไปทุกทิศทุกทาง มั่วไปหมดเลย
มีบางลูกมุ่งตรงไปหาช่างภาพ
ขณะที่ช่างภาพวิ่งหนีเอาชีวิตรอด
ก็เหลือบเห็นพลเรือเอกและนายพล
ที่รวมตัวกันพุ่งเข้าหาที่กำบังหลังสันหินกรวด
จนกลายเป็นลวดหนามพันกันวุ่นวาย
(สำนวนไทย ลิงแก้แห ลิงติดแห)
ขณะทึ่ Panjandrum กำลังมุ่งหน้ากลับสู่ทะเล
แต่ได้ชนเข้ากับผืนทรายและพังทลายลง
ด้วยการระเบิดอย่างรุนแรง
จรวดพุ่งข้ามชายหาดด้วยความเร็วสูง
หลังจากนิทรรศการแสดงอาวุธ
ที่น่าสมเพช/ล้มเหลวในครั้งนี้
โครงการนี้ก็ถูกยกเลิกในที่สุด
แต่มีเพียงครั้งเดียวที่ Panjandrum
วิ่งได้อย่างวิเศษมากในครั้งนั้น “
.
เรียบเรียง/ที่มา
Panjandrum: A Wacky WW2-Era Failed Weapon
.
Panjandrum อาวุธที่ล้มเหลวในยุค WWII
.
The Great Panjandrum at Westward Ho!
.
.
.
Panjandrum
.
.
ในปี ค.ศ. 1941
รัฐบาลแห่งสหราชอาณาจักรได้จัดตั้ง
Department of Miscellaneous Weapons Development (DMWD)
หน่วยงานเฉพาะกิจชั่วคราว
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
เพื่อค้นหาวิธีการใหม่ ๆ ที่แหวกแนว
ในการสังหารศัตรู และสนับสนุนในการรบ
ความพยายามของ DMWD นี้
ได้สร้างสิ่งประดิษฐ์ที่มีประโยชน์ต่าง ๆ เช่น
Hedgehog อาวุธต่อต้านเรือดำน้ำ
.
.
.
.
Squid ปืนครกต่อต้านเรือดำน้ำ
.
.
.
.
เช่นเดียวกับ Holman Projector
.
.
.
.
.
Wren N S Hopkins จาก London
กำลังจะใช้งาน Holman projector ที่ติดตั้งบน
Defensively Equipped Merchant Ship
ที่เมืองท่า Cardiff
.
.
.
Z Battery ต่อต้านอากาศยาน
.
.
.
.
.
Degaussing เครื่องทำลายสนามแม่เหล็ก
ที่มักติดกับทุ่นระเบิดลอยลำ/จมอยู่ในทะเล
.
.
หน้าปัดอุปกรณ์เครื่อง MES-device
(Magnetischer Eigenschutz
German : เครื่องป้องกันตนเองจากแม่เหล็ก)
ภายในเรือดำน้ำของนาซีเยอรมัน
.
.
.
RMS Queen Mary มาถึง New York Harbor
20 มิถุนายน 1945 พร้อมทหารสหรัฐฯ
มีการติดตั้ง Degaussing รอบกาบเรือ
.
.
.
.
DMWD ยังสร้าง Bouncing bomb
ลูกระเบิดเด้งดึ๋ง/กระเด็นกระดอนได้
ถูกนำมาใช้ทำลายเขื่อนนาซีเยอรมัน
ในยุทธการ Dambusters Raid
ในปี ค.ศ.1943
ที่ประสบความสำเร็จอย่างแรง
.
.
Bouncing bomb
.
.
เครื่องบินบรรทุกระเบิดแค่ลูกเดียว
.
.
สภาพเขื่อนหลังถูกระเบิด
.
.
สภาพเขื่อนหลังถูกระเบิด
.
.
ภาพจำลองการทิ้งระเบิด
.
.
ภาพการทิ้งระเบิด
หลังจากเครื่องบินลำอื่นล่อเป้าไปก่อน
.
บทบาทสำคัญ DMWD นี้คือ
ในการพัฒนาบางส่วนของ
ท่าเรือ Mulberry ลอยน้ำ/เคลื่อนที่ได้
ที่ใช้ในวันยกพลขึ้นบกในวัน D - Day
.
.
งานก่อสร้างท่าเรือบนบก
.
.
.
ท่าเรือในสนามรบ
.
.
.
ท่าเรือในสนามรบ
.
.
.
สภาพพังทะลายของ Mulberry A
เพราะพายุช่วง 19–22 มิถุนายน 1944
.
.
.
.
แม้ว่าหน่วยงานนี้จะประสบความสำเร็จ
กับสิ่งประดิษย์ยามสงครามเหล่านี้
แต่ไม่ใช่ทุกโครงการของ DMWD
ที่จะประสบผลสำเร็จทุกครั้ง เช่น
ความพยายามที่จะปกปิดแม่น้ำเทมส์
จากเครื่องบินทิ้งระเบิดของเยอรมัน
ด้วยการทำให้แม่น้ำเทมส์
ปกคลุมไปด้วยเขม่าควันล้มเหลว
เพราะผลกระทบของลมและกระแสน้ำ
จนทำให้เกิดความสับสน/ไม่แน่ใจ
เมื่อน้ำทะเลที่ปกคลุมไปด้วยถ่านหิน
ถูกเข้าใจผิดว่าเป็นพื้นแอสฟัลต์(ยางมะตอย)
ในช่วงไฟดับยามสงคราม
แต่โครงการที่ล้มเหลวที่สุดคือ
Panjandrum
ชื่อที่ได้รับแรงบันดาลใจ
จากตัวละครในร้อยแก้วไร้สาระของ
Samuel Foote
ของนักเขียนบทละครชาวอังกฤษในศตวรรษ 18
.
.
.
.
.
.
Panjandrum มีล้อคู่ขนาดใหญ่
แต่ละล้อมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 ฟุต
มีถังเหล็กตรงกลางบรรทุกระเบิดได้หลายตัน
รอบขอบล้อนั้นมีจรวด Cordite
ดินขับระเบิด/ดินปืนของอังกฤษ
.
.
.
.
จรวด Cordite ที่ออกแบบมาเฉพาะ
เพื่อหมุนเครื่องจักรสังหาร
โดยขับเคลื่อนไปยังแนวป้องกัน
ชายหาดคอนกรีตแนวชายฝั่งฝรั่งเศส
โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างช่องโหว่ขนาดใหญ่
ผู้ออกแบบประเมินว่า Panjandrum
ที่บรรทุกสัมภาระเต็มพิกัด 1,800 กิโลกรัม
สามารถทำความเร็วได้ประมาณ 100 กม./ชม.
โดยมีแรงผลักดันเพียงพอที่จะชนผ่าน
สิ่งกีดขวางระหว่างจุดเริ่มต้นและเป้าหมาย
ในช่วงปลายปี ค.ศ. 1943
ต้นแบบของ Panjandrum ถูกสร้างขึ้น
ในลอนดอนและขนส่งอย่างลับ ๆ
ในตอนกลางคืนไปยังหมู่บ้านเล็ก ๆ
Westward Ho! บนชายฝั่งทางใต้
แต่การเลือกพื้นที่ทดสอบกลับไม่ค่อยดีนัก
ทางทิศตะวันตก Westward Ho!
เป็นรีสอร์ทริมทะเลยอดนิยม
ในเช้าวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 1943
เมื่ออุปกรณ์ถูกกลิ้งไปที่ชายหาด
ก็เต็มไปด้วยผู้คนที่เที่ยวชายหาด
ชาวบ้านและนักท่องเที่ยวต่างรุมล้อม
อุปกรณ์ด้วยความสนใจอย่างสับสน
การทดลองเริ่มต้นด้วย
การใช้จรวด Cordite
เพียงไม่กี่ตัวติดอยู่บนล้อ
และน้ำหนักบรรทุกก็จำลอง
ด้วยทรายที่มีน้ำหนักเท่ากัน
จรวดถูกจุดติดขึ้นมาแล้ว
Panjandrum ก็พุ่งไปข้างหน้า
โดยออกจากยานลงจอด
ที่ใช้เป็นแท่นปล่อยจรวด
และอยู่ห่างจากชายหาด
เป็นระยะทางพอสมควร
แต่จรวดจำนวนหนึ่งบนล้อข้างหนึ่งล้มเหลว
ทำให้อาวุธหลุดออกนอกเส้นทาง
แม้จะพยายามยิงจรวดเพิ่มอีกหลายครั้ง
แต่ Panjandrum ก็สูญเสียการควบคุม
เสียหายอย่างต่อเนื่อง
ก่อนที่จะถึงปลายชายหาด
.
.
.
.
.
เพื่อแก้ปัญหาเสถียรภาพเครื่องจักรสังหาร
Nevil Shute Norwegian หัวหน้าโครงการ
ได้ติดตั้งล้อที่สามเข้ากับ Panjandrum
เมื่อทดลองอีกครั้ง
อุปกรณ์ดังกล่าวก็พุ่งเข้าหาชายฝั่ง
แล่นผ่านชายหาดก่อนจะหันกลับออกสู่ทะเล
จรวดแยกออกและฟาดอย่างดุเดือด
เหนือหัวของผู้ชมที่รวมตัวกัน
บางส่วนก็ลงในทะเลเป็นระเบิดใต้น้ำ
มีการจัดการทดลองเพิ่มเติม
คราวนี้ถอดล้อที่สามออก
และติดสายเคเบิลหนักไว้
ที่ปลายแต่ละด้านของดุมล้อ
โดยยึดไว้ด้วยกว้านสองตัว
โดยหวังว่าจะสามารถบังคับอุปกรณ์
ให้ขึ้นชายหาดได้อย่างปลอดภัย
แต่ Panjandrum ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า
มีพลังมากเกินไป โดยดึงหักสายเคเบิลฉีกขาด
แล้วเหวี่ยงกลับข้ามชายหาด
เมื่อถึงเวลานั้นก็เห็นได้ชัดว่า
Panjandrum นั้นใช้งานไม่ได้อย่างมาก
แต่ฝ่ายผู้อำนวยการก็พยายามต่อไป
และหลังจากซ่อมแซมต่อไปอีก
สองสามสัปดาห์ต่อมา
วิศวกรก็เตรียมเวอร์ชันพิเศษ
ที่ได้รับการปรับปรุงตามที่คาดคะเนไว้
ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1944
เจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐบาล
และสมาชิกอาวุโสหลายคนของกองทัพ
ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการทดสอบที่มีชื่อเสียง
.
.
Brian Johnson บรรยาย
ถึงวิธีการทดสอบในสารคดี BBC ปี 1977
เรื่อง The Secret War :
" ในตอนแรกทุกอย่างเป็นไปด้วยดี
Panjandrum กลิ้งขึ้นจากชายหาดใกล้ทะเล
แล้วเริ่มมุ่งหน้าไปยังฝั่งผู้บริหารระดับสูง
ที่มองผ่านกล้องส่องทางไกล
จากยอดสันเขาหินกรวด Westward Ho!
[... ] จากนั้นตัวยึดหนีบจรวดชุดแรก
จรวดอีกสองลูกก็หลุดออกไป
Panjandrum เริ่มเซถลา เป็นลางไม่ดี
มันกระทบกับหลุมอุกกาบาตเล็ก ๆ
(กลุ่มก้อนหิน) บนผืนทราย
แล้วเริ่มหันไปทางกาบขวา
โดยมุ่งหน้าสู่ Louis Klemantaski
ช่างภาพซึ่งมองเหตุการณ์ผ่านเลนส์ยืดกลัอง
แต่ตัดสินระยะทางผิดและถ่ายทำต่อไป
เมื่อได้ยินเสียงคำรามใกล้เข้ามา
ช่างภาพก็เงยหน้าขึ้นจากช่องมองภาพ
เพื่อดู Panjandrum ปล่อยจรวด
พุ่งออกไปทุกทิศทุกทาง มั่วไปหมดเลย
มีบางลูกมุ่งตรงไปหาช่างภาพ
ขณะที่ช่างภาพวิ่งหนีเอาชีวิตรอด
ก็เหลือบเห็นพลเรือเอกและนายพล
ที่รวมตัวกันพุ่งเข้าหาที่กำบังหลังสันหินกรวด
จนกลายเป็นลวดหนามพันกันวุ่นวาย
(สำนวนไทย ลิงแก้แห ลิงติดแห)
ขณะทึ่ Panjandrum กำลังมุ่งหน้ากลับสู่ทะเล
แต่ได้ชนเข้ากับผืนทรายและพังทลายลง
ด้วยการระเบิดอย่างรุนแรง
จรวดพุ่งข้ามชายหาดด้วยความเร็วสูง
หลังจากนิทรรศการแสดงอาวุธ
ที่น่าสมเพช/ล้มเหลวในครั้งนี้
โครงการนี้ก็ถูกยกเลิกในที่สุด
แต่มีเพียงครั้งเดียวที่ Panjandrum
วิ่งได้อย่างวิเศษมากในครั้งนั้น “
.
เรียบเรียง/ที่มา
Panjandrum: A Wacky WW2-Era Failed Weapon
.