หากจะหาพลังงานที่ใช้ในการทำให้น้ำมวล 1 กิโลกรัม
ที่อุณหภูมิ 100°C เป็นไอน้ำมวล 1 กิโลกรัมที่อุณหภูมิ 100°C
จะใช้สูตร Q = mL ซึ่งจะได้ออกมาเป็นพลังงาน 2.25 MJ ใช่มั้ยครับ
แต่หากผมสมมุติว่าผมนำน้ำมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 35°C
ราดบนพื้นคอนกรีตตอนเที่ยง ที่อุณหภูมิน่าจะประมาณ 50 - 60°C
ปรากฏว่าผ่านไป 10 นาที น้ำที่ราดไประเหยจนพื้นแห้งหมด
ผมสามารถเข้าใจถูกมั้ยครับว่า ในระยะเวลา 10 นาทีที่ผ่านมา
น้ำได้ดึงพลังงาน 2.25 MJ ออกจากพื้นคอนกรีต รวมทั้งบรรยากาศรอบ ๆ
เพื่อให้ตัวเองระเหยกลายเป็นไอ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ
ค่าความร้อนแฝงการกลายเป็นไอของน้ำ สามารถใช้กับการระเหยของน้ำที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเดือดได้ไหมครับ
ที่อุณหภูมิ 100°C เป็นไอน้ำมวล 1 กิโลกรัมที่อุณหภูมิ 100°C
จะใช้สูตร Q = mL ซึ่งจะได้ออกมาเป็นพลังงาน 2.25 MJ ใช่มั้ยครับ
แต่หากผมสมมุติว่าผมนำน้ำมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 35°C
ราดบนพื้นคอนกรีตตอนเที่ยง ที่อุณหภูมิน่าจะประมาณ 50 - 60°C
ปรากฏว่าผ่านไป 10 นาที น้ำที่ราดไประเหยจนพื้นแห้งหมด
ผมสามารถเข้าใจถูกมั้ยครับว่า ในระยะเวลา 10 นาทีที่ผ่านมา
น้ำได้ดึงพลังงาน 2.25 MJ ออกจากพื้นคอนกรีต รวมทั้งบรรยากาศรอบ ๆ
เพื่อให้ตัวเองระเหยกลายเป็นไอ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ