เงื่อนไข no-trade เป็นสิ่งที่ได้ยากมาก Steph เคยขอตอนได้ supermax ครั้งเเรกเเต่ถูกสะพานตอบปฎิเสธเพราะกลัวว่า Klay กับ Dray จะเลียนเเบบ
มีผู้เล่นไม่ถึง 0.01% ในประวัติศาสตร์ NBA ที่เคยได้เงื่อนไขนี้รวม 10 คนคือ:
-David Robinson ท่านนายพลได้จาก Spurs ในปี 1987 เเต่เขาไม่เคยคิดจะย้ายทีมหลังกวาดรางวัล MVP, DPOY, เเหวน 2 วงเเละอยู่ทีมเดียวตลอดอาชีพจนรีไทร์นาน 14 ฤดูกาล
-John Stockton เจ้าของ assist leader ตลอดกาลได้เงื่อนไขนี้จาก Jazz ในปี 1996 ก่อนรีไทร์ที่นั่นหลังจบปีที่ 19
-Kobe Bryant ได้ตอนต่อสัญญา 7 ปี/$136.4 ล้านในปี 2004 ซึ่งเขาเคยใช้สิทธิ์วีโต้ไม่ยอมย้ายไป Pistons ในดีลเเลกตัว Richard Hamilton ในปี 2007 สุดท้ายอยู่จนรีไทร์ที่ Lakers รวม 20 ปี
-Dirk Nowitzki ได้ในปี 2010 ตอนต่อสัญญา 4 ปี/$80 ล้านซึ่งเขาพา Dallas คว้าเเชมป์ได้เลยในปีถัดมา อยู่ทีมเดียวตลอดอาชีพนาน 21 ปี
-Kevin Garnett ได้จาก Celtics ตอนต่อสัญญา 3 ปีในปี 2012 เเต่อนุญาตให้ต้นสังกัดเทรดตัวเองได้ 2 ครั้งตอนถูกส่งไป Nets เเละตอนย้ายกลับไปรีไทร์ที่ Wolves
-Tim Duncan ได้ในปี 2012 ซึ่งเขาลดค่าเหนื่อยให้เเต่ขอเงื่อนไขนี้ทดเเทนซึ่ง Spurs ตอบตกลง
-Dwyane Wade ได้เงื่อนไขนี้จาก Heat ในปี 2014 ทันทีที่ LeBron ย้ายกลับ Cavaliers
-Carmelo Anthony ได้ตอนต่อสัญญา 5 ปี/$124 ล้านกับ Knicks ในปี 2014 หลังจากนั้นฟอร์มตกเลยถูกโละทิ้งเเต่กว่าจะหาทีมรับเทรดได้ก็เเทบเเย่เพราะเมโล่อยากย้ายไปทีมที่มีลุ้นเเชมป์เเละได้เป็นจริงเท่านั้นซึ่ง OKC ต้องมาปวดหัวกับเขาต่อ
-LeBron James ได้ในปี 2016 หลังพา Cavaliers คว้าเเชมป์ มีข่าวว่าเขาเตรียมขอเงื่อนไขนี้จาก Lakers ใน summer นี้
-Bradley Beal ได้จากพ่อมดตอนต่อสัญญาระดับ max 5 ปี/$251 ล้านในปี 2022 ซึ่งเขาอยากมีลุ้นเเชมป์เลยเปิดไฟเขียวให้เทรดมา Suns ได้
ลีกกําหนดว่าคนขอ no-trade clause ต้องมีคุณสมบัติครบทุกข้อดังนี้:
-มีประสบการณ์ในลีกอย่างน้อย 8 ปี
-อยู่กับทีมปัจจุบันอย่างน้อย 4 ปี (จํานวนปีไม่จําเป็นต้องนับเเบบติดต่อกัน)
-ที่สําคัญต้องขอตอนเป็น free agent เท่านั้น (ต่อล่วงหน้าขอไม่ได้)
การเทรดผู้เล่นที่มีเงื่อนไขนี้ยังทําได้เเต่ยุ่งยากตรงต้องขอความยินยอมจากผู้เล่นก่อนซึ่ง Beal จะถือสิทธิ์ในการเลือกทีมปลายทางได้หรือตอบปฏิเสธโดย veto ถ้าถูกส่งไปอยู่ไซบีเรีย
Credit: Boardroom
🏀 10 คนที่เคยได้ no-trade clause
มีผู้เล่นไม่ถึง 0.01% ในประวัติศาสตร์ NBA ที่เคยได้เงื่อนไขนี้รวม 10 คนคือ:
-David Robinson ท่านนายพลได้จาก Spurs ในปี 1987 เเต่เขาไม่เคยคิดจะย้ายทีมหลังกวาดรางวัล MVP, DPOY, เเหวน 2 วงเเละอยู่ทีมเดียวตลอดอาชีพจนรีไทร์นาน 14 ฤดูกาล
-John Stockton เจ้าของ assist leader ตลอดกาลได้เงื่อนไขนี้จาก Jazz ในปี 1996 ก่อนรีไทร์ที่นั่นหลังจบปีที่ 19
-Kobe Bryant ได้ตอนต่อสัญญา 7 ปี/$136.4 ล้านในปี 2004 ซึ่งเขาเคยใช้สิทธิ์วีโต้ไม่ยอมย้ายไป Pistons ในดีลเเลกตัว Richard Hamilton ในปี 2007 สุดท้ายอยู่จนรีไทร์ที่ Lakers รวม 20 ปี
-Dirk Nowitzki ได้ในปี 2010 ตอนต่อสัญญา 4 ปี/$80 ล้านซึ่งเขาพา Dallas คว้าเเชมป์ได้เลยในปีถัดมา อยู่ทีมเดียวตลอดอาชีพนาน 21 ปี
-Kevin Garnett ได้จาก Celtics ตอนต่อสัญญา 3 ปีในปี 2012 เเต่อนุญาตให้ต้นสังกัดเทรดตัวเองได้ 2 ครั้งตอนถูกส่งไป Nets เเละตอนย้ายกลับไปรีไทร์ที่ Wolves
-Tim Duncan ได้ในปี 2012 ซึ่งเขาลดค่าเหนื่อยให้เเต่ขอเงื่อนไขนี้ทดเเทนซึ่ง Spurs ตอบตกลง
-Dwyane Wade ได้เงื่อนไขนี้จาก Heat ในปี 2014 ทันทีที่ LeBron ย้ายกลับ Cavaliers
-Carmelo Anthony ได้ตอนต่อสัญญา 5 ปี/$124 ล้านกับ Knicks ในปี 2014 หลังจากนั้นฟอร์มตกเลยถูกโละทิ้งเเต่กว่าจะหาทีมรับเทรดได้ก็เเทบเเย่เพราะเมโล่อยากย้ายไปทีมที่มีลุ้นเเชมป์เเละได้เป็นจริงเท่านั้นซึ่ง OKC ต้องมาปวดหัวกับเขาต่อ
-LeBron James ได้ในปี 2016 หลังพา Cavaliers คว้าเเชมป์ มีข่าวว่าเขาเตรียมขอเงื่อนไขนี้จาก Lakers ใน summer นี้
-Bradley Beal ได้จากพ่อมดตอนต่อสัญญาระดับ max 5 ปี/$251 ล้านในปี 2022 ซึ่งเขาอยากมีลุ้นเเชมป์เลยเปิดไฟเขียวให้เทรดมา Suns ได้
ลีกกําหนดว่าคนขอ no-trade clause ต้องมีคุณสมบัติครบทุกข้อดังนี้:
-มีประสบการณ์ในลีกอย่างน้อย 8 ปี
-อยู่กับทีมปัจจุบันอย่างน้อย 4 ปี (จํานวนปีไม่จําเป็นต้องนับเเบบติดต่อกัน)
-ที่สําคัญต้องขอตอนเป็น free agent เท่านั้น (ต่อล่วงหน้าขอไม่ได้)
การเทรดผู้เล่นที่มีเงื่อนไขนี้ยังทําได้เเต่ยุ่งยากตรงต้องขอความยินยอมจากผู้เล่นก่อนซึ่ง Beal จะถือสิทธิ์ในการเลือกทีมปลายทางได้หรือตอบปฏิเสธโดย veto ถ้าถูกส่งไปอยู่ไซบีเรีย
Credit: Boardroom