In the ever-evolving landscape of remote work, the life of a digital nomad is more appealing than ever. As we step into 2024, the quest for the perfect location continues. Here, we present the 10 best cities in Asia for digital nomads in 2024, with a special focus on factors crucial for remote work success. And, as your language journey is as important as your nomadic lifestyle, we'll also highlight how Berlitz Thailand can be your partner in conquering language barriers.
1. Bangkok, Thailand
Population: Approximately 10.8 million
Primary Language: Thai
Secondary Languages: English, Mandarin and Lao
Number of Expats: Estimated at 150,000
Benefits:
Vibrant Culture: As a digital nomad in Bangkok, you'll find yourself working amidst a vibrant and diverse cultural tapestry. From the bustling markets of Chatuchak to the serene temples like Wat Pho, every work break becomes an opportunity to explore the rich traditions, festivals, and historical landmarks that define this dynamic city.
Nomad-Friendly Factors:
Communication: English is widely spoken, making it easy for nomads to navigate daily life and communicate effectively with locals, colleagues, and fellow nomads.
Criminal Rate: Bangkok boasts one of the lowest crime rates among major cities, ensuring a safe and secure environment for remote workers to focus on their projects without unnecessary concerns.
Visa Conditions: The city's favorable visa conditions for nomads from the US, Europe, Japan, Korea, and China provide flexibility and ease for an extended stay, allowing you to fully immerse yourself in the Thai way of life.
Infrastructure: Bangkok's efficient public transportation system, including the BTS and MRT, coupled with excellent healthcare facilities, ensures that digital nomads can navigate the city comfortably and access quality medical services if needed.
Cost of Living: With a relatively low cost of living compared to many Western cities, Bangkok allows digital nomads to enjoy a high quality of life without breaking the bank, offering affordable accommodation, food, and entertainment options.
Weather: The tropical climate of Bangkok ensures consistently warm temperatures year-round, creating an inviting and comfortable atmosphere for remote work, whether you're exploring the city or working from a local coworking space.
*** มันยอดเยี่ยมมาก
นิยามของ “Digital Nomad”
“Digital Nomad” ใช้เรียกกลุ่มคนยุคใหม่ที่แสวงหาอิสรภาพจากการทำงานที่ต้องเข้าสำนักงานเป็นประจำ สู่การทำงานผ่านการใช้เทคโนโลยีและมีอิสระในการเดินทางท่องเที่ยวไปพร้อม ๆ กัน คำว่า Digital Nomad ถูกพบครั้งแรกในหนังสือชื่อ “Digital Nomad” ของ Tsugio Makimoto และ David Manners เมื่อปี 1997 โดยผู้เขียนได้คาดการณ์ถึงรูปแบบการทำงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งในยุคสมัยนั้นถือว่าแปลกไปจากการทำงานแบบปกติที่ผู้คนคุ้นเคยกัน ต่อมาในปี 2015 มีการกล่าวถึงวัฒนธรรมย่อยที่เรียกว่า “Lifehacking” ที่ผู้คนหันมาใช้ชีวิตโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ตนเองมีอิสรภาพ มีสติทันต่อความคิด ควบคุมการกระทำของตนเองได้ ตัดสินใจเลือกตอบสนองสิ่งที่ดีที่สุดต่อตนเอง และพร้อมที่จะรับผิดชอบผลจากการตัดสินใจนั้น โดยใช้ศักยภาพของเทคโนโลยี ซึ่งเป็นความหมายคล้ายคลึงกับ Digital Nomad
United Nations Development Programme (2020) ให้ความหมายของ Digital Nomad ว่าเป็นบุคคลที่ทำงานจากประเทศที่ไม่ใช่ประเทศของตนเอง ทำงานทางไกลโดยใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อกลางโดยไม่มีถิ่นพำนักถาวร ทางการศึกษาด้านการท่องเที่ยว Digital Nomad หมายถึงบุคคลที่เดินทางไปยังเมืองต่าง ๆ ทั่วโลกเพื่อพักผ่อนร่วมไปกับการทำงาน โดยไม่จำเป็นต้องประจำอยู่ในออฟฟิศแบบเดิม และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่ออิสรภาพจากข้อจำกัด
https://tatreviewmagazine.com/article/digital-nomads-2023/
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ความแตกต่างระหว่าง Digital Nomad กับกลุ่มใกล้เคียงอื่น ๆ
Digital Nomad แตกต่างจากนักท่องเที่ยวกลุ่มใกล้เคียงอื่น ๆ ใน 2 มิติ คือ ความคล่องตัวในการโยกย้าย (Mobility) และความสนใจในงาน (Work Focus) เช่น กลุ่มชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศอื่นที่ไม่ใช่ประเทศต้นกำเนิด หรือ Expat จะมีความคล่องตัวในการโยกย้ายถิ่นพำนักต่ำ แต่มีความสนใจในงานสูง ขณะเดียวกันนักท่องเที่ยวกลุ่ม Backpacker มีความสนใจในการทำงานต่ำ แต่มีความคล่องตัวในการโยกย้ายถิ่นพำนักสูง ส่วนกลุ่ม Digital Nomad มีทั้งความคล่องตัวในการโยกย้ายถิ่นพำนักและมีความสนใจในงานสูง
ที่มา: ¹ United Nations Development Programme, 2020
² ListGlobally / The freedom trap: digital nomads and the use of disciplining practices to manage work/leisure boundaries, Dave Cook, 2022
³ นักท่องเที่ยวแบบสะพายเป้ (BACKPACKER) โดย ตวิษา ศรีสวัสดิ์ และ ชุลีพร ทวีศรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
5 อันดับเมืองค่าครองชีพถูก VS แพงที่สุดประจำปี 2023
August 18, 2023
ในปัจจุบันมีผู้คนมากมายที่อพยพไปทำงานหรือย้ายถิ่นฐานไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งไม่เพียงแค่ประชากรจากประเทศที่มีความยากลำบากในการใช้ชีวิตหรือมีปริมาณงานไม่เพียงพอต่อจำนวนประชากรเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงประชากรจากประเทศที่แม้จะไม่ได้มีความยากลำบากในการประกอบอาชีพ แต่เนื่องจากค่าครองชีพภายในประเทศอาจจะไม่เอื้อต่อการดำรงชีพ ทำให้มีผู้คนมากมายที่แสวงหาความก้าวหน้าด้วยการโยกย้ายไปทำงานต่างประเทศ ซึ่งมักจะเป็นประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นอย่างดี มีอาชีพที่หลากหลายรองรับแรงงานต่างชาติ ยิ่งไปกว่านั้นคือเม็ดเงินที่ได้รับเป็นการตอบแทนก็มักจะอยู่ในระดับที่สูงกว่าการทำงานภายในประเทศของบรรดาผู้โยกย้าย จึงเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการโยกย้ายในภาคแรงงานเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยเองที่ก็มีแรงงานต่างชาติโยกย้ายเข้ามาเป็นจำนวนมากเช่นกัน
โดยข้อมูลจาก ‘สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว’ ระบุจำนวนแรงงานข้ามชาติและกลุ่มคนที่ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือทั่วราชอาณาจักรไทย ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 มีจำนวน 2,766,997 คน
อย่างไรก็ดี ในการโยกย้ายไปทำงานต่างประเทศ นอกจากจะคำนึงถึงค่าตอบแทนที่จะได้รับแล้ว ยังต้องมีการคำนวณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ร่วมด้วย โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายทางด้านอาหารการกิน, ค่าเดินทาง, ค่าที่พัก เป็นต้น ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการนำมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ เพราะบางครั้ง แม้ว่างานในบางสถานที่จะมีค่าตอบแทนอยู่ในระดับสูง แต่หากมีค่าใช้จ่ายที่สูงตามไปด้วย อาจจะนำมาซึ่งความ ‘ไม่คุ้มค่า’ ในการโยกย้ายตามไปด้วย เพราะการทำงานในต่างประเทศย่อมมีระดับความเสี่ยงที่สูงกว่าการทำงานในประเทศ เนื่องจากไม่มีใครสามารถรับประกันได้ว่าผู้ที่เดินทางไปหางานทำจะสามารถหางานทำตามที่ตั้งใจไว้ได้หรือไม่ หรือแม้แต่ผู้ที่มีงานรองรับไว้อยู่แล้ว ก็ไม่แน่ว่าจะสามารถยึดเป็นอาชีพหลักในระยะยาวได้ นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการใช้ชีวิตในต่างประเทศเป็นอย่างมาก ซึ่งหลาย ๆ ครั้งจะพบว่ามีผู้คนเป็นจำนวนไม่น้อยที่แบกรับกับความเปลี่ยนแปลงและความกดดันที่เกิดขึ้นไม่ได้จนต้องเดินทางกลับประเทศ
โดยในวันนี้ Business+ ได้ทำการรวบรวมข้อมูลประเทศที่มีค่าครองชีพที่ถูกและแพงที่สุดในโลกประจำปี 2023 แบ่งเป็นฝั่งละ 5 อันดับ โดยอ้างอิงข้อมูลจากเว็บไซต์ ‘Traveler Sharma’ และได้ทำการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายหลัก ๆ ที่จะต้องจ่ายในแต่ละเดือนสำหรับ 1 คน จากเว็บไซต์ ‘numbeo’ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่กำลังมองหาทางเลือกในการทำงานในต่างประเทศ
เริ่มจาก 5 เมืองค่าครองชีพถูกที่สุด ได้แก่
1. ฮานอย เวียดนาม
ฮานาย ถือเป็นประเทศที่มีค่าครองชีพถูกที่สุด และเป็นเมืองที่ต้อนรับนักท่องเที่ยวจากทั่วโลกอยู่ตลอดเวลา โดยค่าใช้จ่ายต่อคน อยู่ที่ประมาณ 17,585 บาท/เดือน ซึ่งไม่รวมค่าที่พัก ในขณะที่ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอน อยู่ที่ประมาณ 12,927 บาท/เดือน ดังนั้น หากรวมค่าใช้จ่ายพื้นฐานร่วมกับค่าที่พักแล้ว จะมีค่าใช้จ่ายต่อเดือนประมาณ 30,513 บาท/คน
2. กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร แม้จะเป็นเมืองที่ประชากรในประเทศบ่นอยู่บ่อยครั้งถึงค่าครองชีพที่สวนทางกับรายได้ แต่สำหรับบรรดานักท่องเที่ยว และนักธุรกิจต่างชาติแล้วนั้น กรุงเทพฯ ถือเป็นอีกเมืองในฝันที่มีค่าครองชีพอยู่ในระดับต่ำ นอกจากนี้ยังเป็นเมืองที่แรงงานต่างชาติจากประเทศเพื่อนบ้านมักเดินทางเข้ามาหางานทำอยู่เสมอ โดยค่าใช้จ่ายต่อคน อยู่ที่ประมาณ 22,478 บาท/เดือน แบบไม่รวมค่าที่พัก ขณะที่ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอน อยู่ที่ประมาณ 11,279 บาท/เดือน รวมค่าใช้จ่ายพื้นฐานต่อเดือนประมาณ 34,404 บาท/คน
3. อาเมดาบัด ประเทศอินเดีย
ค่าใช้จ่ายต่อคน 12,730 บาท/เดือน (ไม่รวมค่าที่พัก), ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอนประมาณ 36,282 บาท/เดือน รวมค่าใช้จ่ายต่อเดือนประมาณ 49,012 บาท/คน
4. เคปทาวน์ แอฟริกาใต้
ค่าใช้จ่ายต่อคน 19,217 บาท/เดือน (ไม่รวมค่าที่พัก), ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอน ประมาณ 22,101 บาท/เดือน รวมค่าใช้จ่ายต่อเดือนประมาณ 41,318 บาท/คน
5. โบโกตา โคลอมเบีย
ค่าใช้จ่ายต่อคน 16,879 บาท/เดือน (ไม่รวมค่าที่พัก), ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอน ประมาณ 13,200 บาท/เดือน รวมค่าใช้จ่ายต่อเดือนประมาณ 30,079 บาท/คน
ข้อมูล/เครดิต :
https://www.thebusinessplus.com/living-expenses/
Top 10 Digital Nomad Havens in Asia for 2024
1. Bangkok, Thailand
Population: Approximately 10.8 million
Primary Language: Thai
Secondary Languages: English, Mandarin and Lao
Number of Expats: Estimated at 150,000
Benefits:
Vibrant Culture: As a digital nomad in Bangkok, you'll find yourself working amidst a vibrant and diverse cultural tapestry. From the bustling markets of Chatuchak to the serene temples like Wat Pho, every work break becomes an opportunity to explore the rich traditions, festivals, and historical landmarks that define this dynamic city.
Nomad-Friendly Factors:
Communication: English is widely spoken, making it easy for nomads to navigate daily life and communicate effectively with locals, colleagues, and fellow nomads.
Criminal Rate: Bangkok boasts one of the lowest crime rates among major cities, ensuring a safe and secure environment for remote workers to focus on their projects without unnecessary concerns.
Visa Conditions: The city's favorable visa conditions for nomads from the US, Europe, Japan, Korea, and China provide flexibility and ease for an extended stay, allowing you to fully immerse yourself in the Thai way of life.
Infrastructure: Bangkok's efficient public transportation system, including the BTS and MRT, coupled with excellent healthcare facilities, ensures that digital nomads can navigate the city comfortably and access quality medical services if needed.
Cost of Living: With a relatively low cost of living compared to many Western cities, Bangkok allows digital nomads to enjoy a high quality of life without breaking the bank, offering affordable accommodation, food, and entertainment options.
Weather: The tropical climate of Bangkok ensures consistently warm temperatures year-round, creating an inviting and comfortable atmosphere for remote work, whether you're exploring the city or working from a local coworking space.
*** มันยอดเยี่ยมมาก
“Digital Nomad” ใช้เรียกกลุ่มคนยุคใหม่ที่แสวงหาอิสรภาพจากการทำงานที่ต้องเข้าสำนักงานเป็นประจำ สู่การทำงานผ่านการใช้เทคโนโลยีและมีอิสระในการเดินทางท่องเที่ยวไปพร้อม ๆ กัน คำว่า Digital Nomad ถูกพบครั้งแรกในหนังสือชื่อ “Digital Nomad” ของ Tsugio Makimoto และ David Manners เมื่อปี 1997 โดยผู้เขียนได้คาดการณ์ถึงรูปแบบการทำงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งในยุคสมัยนั้นถือว่าแปลกไปจากการทำงานแบบปกติที่ผู้คนคุ้นเคยกัน ต่อมาในปี 2015 มีการกล่าวถึงวัฒนธรรมย่อยที่เรียกว่า “Lifehacking” ที่ผู้คนหันมาใช้ชีวิตโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ตนเองมีอิสรภาพ มีสติทันต่อความคิด ควบคุมการกระทำของตนเองได้ ตัดสินใจเลือกตอบสนองสิ่งที่ดีที่สุดต่อตนเอง และพร้อมที่จะรับผิดชอบผลจากการตัดสินใจนั้น โดยใช้ศักยภาพของเทคโนโลยี ซึ่งเป็นความหมายคล้ายคลึงกับ Digital Nomad
United Nations Development Programme (2020) ให้ความหมายของ Digital Nomad ว่าเป็นบุคคลที่ทำงานจากประเทศที่ไม่ใช่ประเทศของตนเอง ทำงานทางไกลโดยใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อกลางโดยไม่มีถิ่นพำนักถาวร ทางการศึกษาด้านการท่องเที่ยว Digital Nomad หมายถึงบุคคลที่เดินทางไปยังเมืองต่าง ๆ ทั่วโลกเพื่อพักผ่อนร่วมไปกับการทำงาน โดยไม่จำเป็นต้องประจำอยู่ในออฟฟิศแบบเดิม และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่ออิสรภาพจากข้อจำกัด
https://tatreviewmagazine.com/article/digital-nomads-2023/
5 อันดับเมืองค่าครองชีพถูก VS แพงที่สุดประจำปี 2023
August 18, 2023
ในปัจจุบันมีผู้คนมากมายที่อพยพไปทำงานหรือย้ายถิ่นฐานไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งไม่เพียงแค่ประชากรจากประเทศที่มีความยากลำบากในการใช้ชีวิตหรือมีปริมาณงานไม่เพียงพอต่อจำนวนประชากรเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงประชากรจากประเทศที่แม้จะไม่ได้มีความยากลำบากในการประกอบอาชีพ แต่เนื่องจากค่าครองชีพภายในประเทศอาจจะไม่เอื้อต่อการดำรงชีพ ทำให้มีผู้คนมากมายที่แสวงหาความก้าวหน้าด้วยการโยกย้ายไปทำงานต่างประเทศ ซึ่งมักจะเป็นประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นอย่างดี มีอาชีพที่หลากหลายรองรับแรงงานต่างชาติ ยิ่งไปกว่านั้นคือเม็ดเงินที่ได้รับเป็นการตอบแทนก็มักจะอยู่ในระดับที่สูงกว่าการทำงานภายในประเทศของบรรดาผู้โยกย้าย จึงเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดการโยกย้ายในภาคแรงงานเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยเองที่ก็มีแรงงานต่างชาติโยกย้ายเข้ามาเป็นจำนวนมากเช่นกัน
โดยข้อมูลจาก ‘สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว’ ระบุจำนวนแรงงานข้ามชาติและกลุ่มคนที่ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือทั่วราชอาณาจักรไทย ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 มีจำนวน 2,766,997 คน
อย่างไรก็ดี ในการโยกย้ายไปทำงานต่างประเทศ นอกจากจะคำนึงถึงค่าตอบแทนที่จะได้รับแล้ว ยังต้องมีการคำนวณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ร่วมด้วย โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายทางด้านอาหารการกิน, ค่าเดินทาง, ค่าที่พัก เป็นต้น ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการนำมาพิจารณาประกอบการตัดสินใจ เพราะบางครั้ง แม้ว่างานในบางสถานที่จะมีค่าตอบแทนอยู่ในระดับสูง แต่หากมีค่าใช้จ่ายที่สูงตามไปด้วย อาจจะนำมาซึ่งความ ‘ไม่คุ้มค่า’ ในการโยกย้ายตามไปด้วย เพราะการทำงานในต่างประเทศย่อมมีระดับความเสี่ยงที่สูงกว่าการทำงานในประเทศ เนื่องจากไม่มีใครสามารถรับประกันได้ว่าผู้ที่เดินทางไปหางานทำจะสามารถหางานทำตามที่ตั้งใจไว้ได้หรือไม่ หรือแม้แต่ผู้ที่มีงานรองรับไว้อยู่แล้ว ก็ไม่แน่ว่าจะสามารถยึดเป็นอาชีพหลักในระยะยาวได้ นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการใช้ชีวิตในต่างประเทศเป็นอย่างมาก ซึ่งหลาย ๆ ครั้งจะพบว่ามีผู้คนเป็นจำนวนไม่น้อยที่แบกรับกับความเปลี่ยนแปลงและความกดดันที่เกิดขึ้นไม่ได้จนต้องเดินทางกลับประเทศ
โดยในวันนี้ Business+ ได้ทำการรวบรวมข้อมูลประเทศที่มีค่าครองชีพที่ถูกและแพงที่สุดในโลกประจำปี 2023 แบ่งเป็นฝั่งละ 5 อันดับ โดยอ้างอิงข้อมูลจากเว็บไซต์ ‘Traveler Sharma’ และได้ทำการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายหลัก ๆ ที่จะต้องจ่ายในแต่ละเดือนสำหรับ 1 คน จากเว็บไซต์ ‘numbeo’ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่กำลังมองหาทางเลือกในการทำงานในต่างประเทศ
เริ่มจาก 5 เมืองค่าครองชีพถูกที่สุด ได้แก่
1. ฮานอย เวียดนาม
ฮานาย ถือเป็นประเทศที่มีค่าครองชีพถูกที่สุด และเป็นเมืองที่ต้อนรับนักท่องเที่ยวจากทั่วโลกอยู่ตลอดเวลา โดยค่าใช้จ่ายต่อคน อยู่ที่ประมาณ 17,585 บาท/เดือน ซึ่งไม่รวมค่าที่พัก ในขณะที่ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอน อยู่ที่ประมาณ 12,927 บาท/เดือน ดังนั้น หากรวมค่าใช้จ่ายพื้นฐานร่วมกับค่าที่พักแล้ว จะมีค่าใช้จ่ายต่อเดือนประมาณ 30,513 บาท/คน
2. กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร แม้จะเป็นเมืองที่ประชากรในประเทศบ่นอยู่บ่อยครั้งถึงค่าครองชีพที่สวนทางกับรายได้ แต่สำหรับบรรดานักท่องเที่ยว และนักธุรกิจต่างชาติแล้วนั้น กรุงเทพฯ ถือเป็นอีกเมืองในฝันที่มีค่าครองชีพอยู่ในระดับต่ำ นอกจากนี้ยังเป็นเมืองที่แรงงานต่างชาติจากประเทศเพื่อนบ้านมักเดินทางเข้ามาหางานทำอยู่เสมอ โดยค่าใช้จ่ายต่อคน อยู่ที่ประมาณ 22,478 บาท/เดือน แบบไม่รวมค่าที่พัก ขณะที่ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอน อยู่ที่ประมาณ 11,279 บาท/เดือน รวมค่าใช้จ่ายพื้นฐานต่อเดือนประมาณ 34,404 บาท/คน
3. อาเมดาบัด ประเทศอินเดีย
ค่าใช้จ่ายต่อคน 12,730 บาท/เดือน (ไม่รวมค่าที่พัก), ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอนประมาณ 36,282 บาท/เดือน รวมค่าใช้จ่ายต่อเดือนประมาณ 49,012 บาท/คน
4. เคปทาวน์ แอฟริกาใต้
ค่าใช้จ่ายต่อคน 19,217 บาท/เดือน (ไม่รวมค่าที่พัก), ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอน ประมาณ 22,101 บาท/เดือน รวมค่าใช้จ่ายต่อเดือนประมาณ 41,318 บาท/คน
5. โบโกตา โคลอมเบีย
ค่าใช้จ่ายต่อคน 16,879 บาท/เดือน (ไม่รวมค่าที่พัก), ค่าเช่าอพาร์ทเมนท์ 1 ห้องนอน ประมาณ 13,200 บาท/เดือน รวมค่าใช้จ่ายต่อเดือนประมาณ 30,079 บาท/คน
ข้อมูล/เครดิต : https://www.thebusinessplus.com/living-expenses/