เงินประกัน ของผู้เสียชีวิต แบบไหนเป็นมรดก ??
1 ) กรณี ระบุว่า ให้ตกแก่ทายาท ก็ต้องเข้ากองมรดก
ตัวอย่างเช่น ผู้ตายทำประกันชีวิตตนเองวงเงิน 200,000 บาท ระบุว่า “ทายาทเป็นผู้รับประโยชน์” เมื่อถึงแก่ความตาย เงินที่ได้รับจากสัญญาประกันชีวิตจำนวน 200,000 บาท จะถูกนำเข้ากองมรดกของผู้ตาย
............................................
2 ) กรณี ระบุชื่อผู้รับผลประโยชน์ ไม่ถือว่า เป็นมรดก ( เพราะมีการ "ระบุชื่อ"ผู้รับผลประโยชนฺ์)
แต่ถ้าผู้เอาประกันได้ระบุชื่อบุคคลไว้โดยเฉพาะเจาะจงแล้ว เงินที่ได้รับ จะไม่ใช่ทรัพย์มรดกของผู้เอาประกัน
ส่วนที่เป็นทรัพย์มรดกจะเป็นเฉพาะเงินเบี้ยประกันภัยที่ได้ส่งไปแล้วเท่านั้น
ตัวอย่างเช่น ผู้ตายทำประกันชีวิตตนเองวงเงิน 200,000 บาท ระบุว่า “นาย ก. เป็นผู้รับประโยชน์” เมื่อเชำระเบี้ยประกันไปได้ 15 ปี รวมเป็นเงิน 200,000 บาท ก็ถึงแก่ความตาย ผู้รับประกัน จะต้องจ่ายเงินจำนวน 200,000 บาทแก่ นาย ก.
แต่นาย ก. จะต้อง ส่งเงินจำนวน 200,000 บาทที่เท่ากับเบี้ยประกันที่ผู้ตายได้จ่ายไปเข้าสู่กองมรดกของผู้ตาย
ซึ่งเจ้าหนี้ของผู้ตายจะเรียกเอาชำระได้จากจำนวน 200,000 บาทนี้จากเบี้ยประกัน
ไม่ใช่จำนวน 200,000 บาทตามสัญญาประกันชีวิต
สรุป คือ ถ้าเจอเคสแบบนี้ ข้อ 1 กับ ข้อ 2 ย่อมไม่ต่างกันใช่หรือไม่
และจากข้อ 2 ถ้าผู้เสียชีวิตส่งเบี้ยประกันไป 50,000 บาท แต่ได้ค่าชดเชยสินไหมหลังเสียชีวิต 200,000 บาท โดยระบุชื่อผู้รับผลประโยชน์
เท่ากับว่าผู้รับผลประโยชน์ มีเงินคงเหลือ 200,000 - 50,000 = 150,000 ใช่หรือไม่ เพราะ 50,000 ต้องตัดเข้ากองมรดกหากผู้ตายมีหนี้สินอยู่
เรื่องเงินประกัน กับกองมรดก🤔🤔🤔❎✅
1 ) กรณี ระบุว่า ให้ตกแก่ทายาท ก็ต้องเข้ากองมรดก
ตัวอย่างเช่น ผู้ตายทำประกันชีวิตตนเองวงเงิน 200,000 บาท ระบุว่า “ทายาทเป็นผู้รับประโยชน์” เมื่อถึงแก่ความตาย เงินที่ได้รับจากสัญญาประกันชีวิตจำนวน 200,000 บาท จะถูกนำเข้ากองมรดกของผู้ตาย
............................................
2 ) กรณี ระบุชื่อผู้รับผลประโยชน์ ไม่ถือว่า เป็นมรดก ( เพราะมีการ "ระบุชื่อ"ผู้รับผลประโยชนฺ์)
แต่ถ้าผู้เอาประกันได้ระบุชื่อบุคคลไว้โดยเฉพาะเจาะจงแล้ว เงินที่ได้รับ จะไม่ใช่ทรัพย์มรดกของผู้เอาประกัน
ส่วนที่เป็นทรัพย์มรดกจะเป็นเฉพาะเงินเบี้ยประกันภัยที่ได้ส่งไปแล้วเท่านั้น
ตัวอย่างเช่น ผู้ตายทำประกันชีวิตตนเองวงเงิน 200,000 บาท ระบุว่า “นาย ก. เป็นผู้รับประโยชน์” เมื่อเชำระเบี้ยประกันไปได้ 15 ปี รวมเป็นเงิน 200,000 บาท ก็ถึงแก่ความตาย ผู้รับประกัน จะต้องจ่ายเงินจำนวน 200,000 บาทแก่ นาย ก.
แต่นาย ก. จะต้อง ส่งเงินจำนวน 200,000 บาทที่เท่ากับเบี้ยประกันที่ผู้ตายได้จ่ายไปเข้าสู่กองมรดกของผู้ตาย
ซึ่งเจ้าหนี้ของผู้ตายจะเรียกเอาชำระได้จากจำนวน 200,000 บาทนี้จากเบี้ยประกัน
ไม่ใช่จำนวน 200,000 บาทตามสัญญาประกันชีวิต
สรุป คือ ถ้าเจอเคสแบบนี้ ข้อ 1 กับ ข้อ 2 ย่อมไม่ต่างกันใช่หรือไม่
และจากข้อ 2 ถ้าผู้เสียชีวิตส่งเบี้ยประกันไป 50,000 บาท แต่ได้ค่าชดเชยสินไหมหลังเสียชีวิต 200,000 บาท โดยระบุชื่อผู้รับผลประโยชน์
เท่ากับว่าผู้รับผลประโยชน์ มีเงินคงเหลือ 200,000 - 50,000 = 150,000 ใช่หรือไม่ เพราะ 50,000 ต้องตัดเข้ากองมรดกหากผู้ตายมีหนี้สินอยู่