คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
ถ้า เงินปันผล เข้า ใน Application TRUE Money Wallet
ปันผล เสร็จ สินทรัพย์ ลง
ไม่มีปันผล ไมต้อง เสีย ภาษี ถ้า ถือ สั้น ผัน ควร ถือ ยาว
การลงทุน มีความเสี่ยง แต่ การไม่ลงทุน อะไร เลย เสี่ยง มากกว่า
ลงทุน กระจาย ความเสี่ยง อย่า ใส่ไข่ ไว้ในตะกร้า ใบเดียว
การลงทุน มีความเสี่ยง ผู้ลงทุน ควรศึกษา ทำความเข้าใจ ก่อน ซื้อ
การลงทุน ในความรู้ ไม่มีความเสี่ยง ลงทุน ในความ ไม่รู้ ด้วยความ รู้
ลงทุน อย่า โลภ โลภ มาก ลาภ หาย
ลงทุน กองทุน บาง กองทุน ไม่มี ขั้นต่ำ 1 บาท บาทเดียว 5 บาท 500 1,000 3,000
ลงทุน กองทุน ต้อง ลงทุน เป็น รอย
ลงทุน ไม่ได้ มี กำไร เสมอ ขาดทุน
ลงทุน DCA บางที ก็มี ข้อเสีย
ลงทุน กองทุน สามารถ สับเปลี่ยน กองทุน ได้
จัดพอร์ต ลงทุน
ถ้า ขาดทุน ถูกหลอก จะ อนุโมทนาบุญ ได้ แค่ไหน
กองทุนรวม เป็นการรวบรวมเงินทุนจากนักลงทุนทั่วไป คนละเล็กคนละน้อย เพื่อรวมเป็นเงินก้อนขนาดใหญ่ แล้วนำเงินที่รวบรวมนั้นไปลงทุนตามที่ได้ตกลงกับนักลงทุน กองทุนที่รวบรวมเงินที่ได้นี้จะได้รับการบริหารจัดการจากบริษัทจัดการกองทุนซึ่งมีหน้าที่ลงทุนแทนนักลงทุนหรือผู้ถือหน่วยลงทุน
ออมกองทุน ก็คือ การค่อย ๆ ทยอยลงทุนใน “กองทุน”
ออมในกองทุน -> เหมาะสำหรับคนที่ยังไม่แน่ใจว่าควรจะเลือก “หุ้น” ตัวไหนดี ไม่แน่ใจว่าตัวไหนจะ “ปัง” ตัวไหนจะ “พัง” จึงฝากให้ผู้เชี่ยวชาญ (ผู้จัดการกองทุน) เป็นคนเลือกให้ มีการกระจายความเสี่ยงให้แล้ว
การลงทุน กองทุน SSF ลดหย่อนภาษี สามารถเลือกลงทุนในตลาดเงิน ตราสารหนี้ หุ้นไทย หุ้นต่างประเทศ สินทรัพย์ทางเลือกอย่างทองคำ และอสังหาริมทรัพย์ หรือจะเลือกกองทุนผสม ที่มีนโยบาลการลงทุนในหลายประเภทสินทรัพย์ก็ได้ นโยบายการลงทุนที่หลากหลายของ SSF ถือเป็นจุดเด่นที่เหนือกว่าการลงทุนในกองทุน LTF แบบเดิมที่เน้นลงทุนในหุ้นไทยเท่านั้น
การลงทุน กองทุน RMF คือกองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพ จัดตั้งขึ้นมาเพื่อสนับสนุนให้คนไทยออมเงินเพื่อการเกษียณ โดยจะเป็นการออมแบบบังคับให้ลงทุนยาว ๆ เงื่อนไขหลักคือ ต้องลงทุนอย่างน้อย 5 ปีต่อเนื่อง และต้องมีอายุครบ 55 ปี ถึงจะสามารถขายคืนหน่วยลงทุนมาใช้ได้
การลงทุน กองทุน ETF
กองทุนอีทีเอฟเองก็ถือว่าเหมาะกับนักลงทุนมือใหม่ที่เพิ่งเข้ามาในตลาด และอยาจะลองลงทุนในหุ้นดูก็อาจจะลองลงทุนในอีทีเอฟไปก่อน เนื่องจากอีทีเอฟมีความเสี่ยงที่ต่ำกว่า อย่างน้อย ๆ ก็ถือว่าเราได้ทำความรู้จักตลาด, วิธีการซื้อขาย และวิธีคัดเลือกสินทรัพย์ที่เราจะลงทุน
กองทุน MMF
MMF เป็นกองทุนตราสารหนี้ที่ถูกควบคุมด้วยเกณฑ์เฉพาะที่กาหนดให้กองทุนนั้น ๆ มีความเสี่ยงต่าและ มีสภาพคล่องสูง ทั้งข้อก าหนดที่เข้มเป็นพิเศษในด้านทรัพย์สินที่ให้ลงทุนได้เฉพาะตราสารหนี้ระยะสั้น (อายุ คงเหลือน้อยกว่า 1 ปี) ที่มีสภาพคล่องสูงและมีคุณภาพดีเช่น เงินฝาก พันธบัตรรัฐบาล หรือหุ้นกู้เอกชนที่มี อันดับความน่าเชื่อถือ
กองทุน LTF
เหมาะกับคนที่ไม่เสียภาษี และขาดทุนอยู่ โดยอยากรอเพื่อดูแนวโน้มของตลาดหุ้น เพราะ LTF ลงทุนในตราสารทุนหรือหุ้นไทย ดังนั้นหากนักลงทุนมองว่านโยบายของกองทุนที่ถืออยู่ยังน่าสนใจ มีแนวโน้มจะสร้างผลตอบแทนที่ดีกว่าในอนาคต ประกอบกับบทวิเคราะห์ตลาดหุ้นไทยที่นักวิเคราะห์มองว่าโดยรวมยังอยู่ในทิศทางบวกเพราะเริ่มเห็นสัญญาณการฟื้นตัว
กองทุน Thai ESG
เหมาะสำหรับ : นักลงทุนที่ต้องการความมั่นคง และอยากได้ผลตอบแทนที่มากกว่าฝากเงินในธนาคาร
กองทุนการออมแห่งชาติ กอช
กองทุนการออมแห่งชาติ หรือ กอช. เป็นกองทุนที่เหมาะสำหรับการเก็บเงินไว้ใช้หลังเกษียณ
กองทุนการออมแห่งชาติ หรือ กอช. ถือเป็นช่องทางการเก็บเงินของคนที่มีอาชีพอิสระ ไม่ได้เป็นข้าราชการหรือทำงานประจำกับหน่วยงานรัฐหรือเอกชน และเป็นทางเลือกหรือแหล่งสร้างรายได้ก่อนการเกษียณของคนที่มีอาชีพอิสระเพื่อเก็บไว้ใช้ในหลังเกษียณการทำงาน ให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่สุขสบายหรือเป็นเงินทุนอย่างอื่นในอนาคตได้
กองทุน มีปันผล กองทุน ไม่มีปันผล
กองทุน มีปันผล
ข้อดีของกองทุนปันผล
เป็นแหล่งสร้าง Passive Income ทำให้เรามีกระแสเงินสดเป็นประจำ เพื่อนำมาใช้จ่ายระหว่างทาง
ทำหน้าที่ในการ Take Profits ให้กับเราโดยอัตโนมัติ ทำให้เราได้ผลตอบแทนจากกองทุน ช่วยแก้ปัญหาเวลาที่กองทุนมีกำไรแล้วเราไม่ได้ขายออก
ข้อด้อยของกองทุนปันผล
เงินปันผลที่ได้มาจะถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 10%
มูลค่าหน่วยลงทุน หรือ NAV ของกองทุนไม่ค่อยไปไหน เพราะ NAV ก็ลดลงตามเมื่อกองทุนจ่ายเงินปันผลออกมา ดังนั้น ส่วนต่างกำไร (Capital gain) ของกองทุนปันผลจะไม่เยอะ
กองทุน ไม่มีปันผล
ข้อดีของกองทุนไม่ปันผล
เมื่อเราขายกองทุน ถ้าได้ส่วนต่างกำรไร (Capital gain) ไม่ต้องนำไปเสียภาษี ทำให้เราให้รับกำไรเต็ม ๆ
กองทุนจะนำกำไรจากผลการดำเนินงานไปลงทุนต่อ (Re-invest) ทำให้เกิดการสร้างผลตอบแทนแบบทบต้น และในระยะะยาวเราจะได้ผลตอบแทนก้อนใหญ่กว่ามาก
ข้อด้อยของกองทุนไม่ปันผล
มูลค่าหน่วยลงทุน หรือ NAV ของกองทุนผันผวนตามราคาของสินทรัพย์ที่ลงทุน ทำให้ในระยะเวลาสั้น ๆ กองทุนที่เราถืออยู่อาจจะขาดทุนจึงไม่สามารถขายทำกำไรออกมาได้
ไม่มีกระแสเงินสดระหว่างทาง หากต้องการเงินออกจากกองทุนต้องขายหนวยลงทุนเอง
ลงทุน จัดพอร์ต กองทุน
แยก 1 เป้าหมายต่อ 1 พอร์ต
2. อย่าถือสินทรัพย์ประเภทเดียว หรืออุตสาหกรรมเดียว โดยเฉพาะพอร์ตลงทุนระยะยาว
3. เพิ่มสินทรัพย์ที่มี Negative/Zero Correlation เข้าไปในพอร์ต
4. อย่ามองแค่อัตราผลตอบแทน แต่ให้ดูความคุ้มค่าความเสี่ยง
5. Review และ Rebalance พอร์ตทุกปี
5 ขั้นตอน การเลือกกองทุน
1. การเลือกกองทุนรวม ก่อนซื้อต้องสำรวจตัวเองกันก่อน
ว่าเราต้องการอะไรจากการลงทุน ลองถามตัวเองสำคัญที่สุด อย่าไปตามคนอื่น เช่น อยากลงทุนในสินทรัพย์อะไร หุ้นไทย หุ้นต่างประเทศ ตราสารหนี้ ทองคำหรืออสังหาริมทรัพย์ แล้วต้องการปันผลมั้ย ความเสี่ยงที่รับได้เป็นยังไง ? และระยะเวลาในการลงทุนจะลงนานแค่ไหน ? และที่สำคัญ ถึงแม้จะลงทุนผ่านกองทุนรวมที่มีมืออาชีพคอยดูแลอยู่ ก็ควรมีความรู้ความเข้าใจในลักษณะของ “สินทรัพย์” ที่กำลังจะลงทุนด้วย เพราะอย่าลืมว่าถ้าสินทรัพย์ที่เรากำลังจะลงทุน อยู่ในจังหวะที่ไม่เหมาะต่อการลงทุนหรืออยู่ในช่วงขาลงก็ยากที่กองทุนรวมจะได้กำไรเช่นกัน ขั้นตอนแรกจึงต้องเริ่มต้นสำรวจที่ความต้องการของเราก่อนเสมอ เราจะได้รู้ว่าเราควรเลือกดูกองทุนประเภทไหน แล้วจะได้หยิบจับกองทุนรวมที่น่าสนใจมาเปรียบเทียบกันได้อย่างเหมาะสมนั่นเอง
2. ดูรายละเอียดกองทุนรวมผ่าน Fund Fact Sheet ทุกครั้ง
ดูได้จากสิ่งที่มีชื่อเรียกเท่ ๆ ว่า “Fund Fact Sheet” แต่ไม่ต้องสับสนหรือตกใจว่ามันยาก เพราะใน Fund Fact Sheet นั้นบอกเราเกือบทุกอย่าง ว่ากองทุนนั้นมันเป็นยังไง ไม่ว่าจะนำเงินที่เราลงทุนไปลงทุนในอะไร ขนาดกองทุน จ่ายปันผลมั้ย ขั้นต่ำที่ซื้อได้ครั้งละเท่าไร แล้วก็พวกค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ก็บอกด้วยทั้งหมดเช่นกัน นอกจากนี้ก็ยังมีพวกอายุของกองทุน ว่าผ่านร้อนผ่านหนาวมาเยอะแค่ไหน สภาพคล่องของกองทุน บางกองก็ไม่สามารถขายได้ทันที ควรศึกษาให้ละเอียดหน่อย เพื่อสอดคล้องเป้าหมายการลงทุนของเรา พวกเอกสารก็โหลดได้จากหน้า Website ของ บลจ. ที่ดูแลกองทุนนั้นได้เลย ช่วงแรกอาจจะงง ๆ หน่อย สักพักเราจะอ่านได้คล่องมากขึ้นเอง
3. การเลือกกองทุนรวม ที่ดีต้องให้ผลตอบแทนอย่างสม่ำเสมอ
เคยซื้อหวยแล้วถูกบ้างมั้ย ? ตอนที่เราถูกเราคงรู้สึกว่าเรานี่โชคดีสุด ๆ ไปเลย สำหรับ กองทุนรวมก็เหมือนกัน บางกองทุนผลตอบแทนอาจจะดีมากอยู่แค่ 1 ปี ถ้าเป็นลักษณะนี้ก็สรุปไม่ได้ว่ากองทุนรวมนั้นดีจริง เพราะอาจจะแค่โชคดีก็เป็นไปได้ ผลตอบแทนย้อนหลัง” ถ้ามันดีมาอย่างสม่ำเสมอก็เป็นกองทุนที่น่าสนใจ และแน่นอนว่าข้อมูลเหล่านี้หาได้จาก Fund Fact Sheet ได้เช่นกัน
4. ถึงจะเป็นกองทุนก็มีความเสี่ยง
เมื่อขึ้นชื่อว่าการลงทุนแน่นอนว่าต้องมีความเสี่ยง ความเสี่ยงที่การลงทุนจะทำผลตอบแทนไม่เป็นไปอย่างที่คาดการณ์ไว้ ซึ่งกองทุนรวมก็มีความเสี่ยงเช่นเดียวกัน
ตัวเลขที่เราสามารถวัดค่าความเสี่ยงได้คือ Standard Deviation หรือ S.D. ค่ายิ่งสูง แปลว่า ยิ่งเสี่ยง แต่การใช้ตัวเลข ตัวนี้เหมาะกับการเปรียบเทียบกองทุนรวมที่ลงทุนในแหล่งเดียวกันเท่านั้น เช่น กองทุนรวมหุ้นเหมือนกัน หรือกองทุนตราสารหนี้เหมือนกัน ขอแนะนำ Sharpe Ratio ความหมายง่าย ๆ คือ ยิ่งสูงยิ่งดี หากดูกองทุนที่ประเภทเดียวกันแล้วกองทุนกองไหน Sharpe Ratio สูงกว่า แสดงว่ากองทุนรวมนั้นสามารถทำผลงานได้น่าสนใจกว่า
5. ตรวจสอบและติดตามอย่างต่อเนื่อง
ถึงแม้การลงทุนผ่านกองทุนรวมจะมีผู้จัดการกองทุนคอยปรับพอร์ตการลงทุนให้เราอย่างต่อเนื่อง แต่สิ่งที่ห้ามลืมโดยเด็ดขาดเลยก็คือ “การตรวจสอบและติดตาม” กองทุนรวมที่เราลงทุนอย่างน้อยทุก 6 เดือนหรือ 1 ปี เพื่อให้เรามั่นใจได้ว่ากองทุนรวมที่เราเลือกลงทุนอยู่ยังเป็นกองทุนรวมที่ดีและสามารถสร้างผลตอบแทนได้ดีกว่า “มาตรฐานการดำเนินงาน (Benchmark)” และกองทุนคู่แข่ง อยู่เสมอ หรือถ้ามีผลการดำเนินงานที่ต่ำลง เราก็ควรไปเจาะลึกดูพอร์ตการลงทุนของกองทุนรวมอีกครั้งหนึ่งว่ามันเกิดอะไรขึ้น แล้ววิเคราะห์ถึงสาเหตุว่าเป็นเพราะอะไร ถ้าตรวจสอบแล้วยังเป็นกองทุนที่ดีก็สามารถถือลงทุนต่อได้ แต่ถ้าดูแล้วไม่น่าไหว เราก็อาจจะขายแล้วเปลี่ยนไปเลือกกองทุนรวมที่ดี ข้อดีของการลงทุนผ่านกองทุนรวมก็คือ เราสามารถหาสิ่งที่ดีที่สุดให้กับตัวเราเองได้เสมอ
ข้อดี กองทุน
. สะดวกสบาย ลงทุนเพียง 1 กองทุน แต่ได้ลงทุนมากกว่า 1 สินทรัพย์ สำหรับมือใหม่ที่อยากเริ่มต้นลงทุน กองทุนรวมผสมเป็นทางเลือกการลงทุนที่น่าสนใจเลยทีเดียว
. ใช้เงินลงทุนน้อย ในปัจจุบันการลงทุนในกองทุนรวมของหลายๆ กองทุนใช้เงินเริ่มต้นเพียง 1 บาท แต่ในบางกองทุนก็ยังกำหนดขั้นต่ำในการลงทุนอยู่ เช่น 500 บาท 1,000 บาท 2,000 บาท เป็นต้น ดังนั้นสำหรับนักลงทุนที่มีเงินลงทุนจำกัด การลงทุนในกองทุนรวมผสม ก็เป็นทางเลือกที่ใช้เงินลงทุนน้อย และยังสามารถลงทุนได้หลายสินทรัพย์ในคราวเดียว
. ติดตามผลการดำเนินการได้ง่าย นักลงทุนควรจะติดตามผลการดำเนินงานทุกๆ 6 เดือน หรือ 1 ปี การที่ลงทุนในกองทุนผสมเพียงกองเดียว ช่วยให้ติดตามได้ง่าย และสะดวกมากกว่า
. มีการปรับพอร์ตอยู่เสมอ การที่เลือกลงทุนในกองทุนรวมผสมบางกองทุน อาจมีปรับกลยุทธ์ตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งคนที่คอยปรับพอร์ตการลงทุน คือ ผู้จัดการกองทุนนั่นเอง ช่วยให้เราไม่จำเป็นต้องติดตามสถานการณ์การลงทุนมากนัก
ต่างจากการซื้อแยกรายกองทุนรวม ที่นักลงทุนต้องคอยศึกษาว่ากองทุนไหนดี กำหนดสัดส่วนในการลงทุนเอง หากอยากลงทุนในสัดส่วน 70:30 (ตราสารทุน:ตราสารหนี้) ต้องคอยปรับพอร์ตให้สมดุลเอง เพื่อให้ยังเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และต้องใช้เงินลงทุนเพิ่มขึ้นเพราะต้องซื้อถึง 2 กองทุน
ข้อเสีย กองทุน
. ไม่สามารถกำหนดสัดส่วนการลงทุนเองได้ สำหรับนักลงทุนที่ลงทุนมาแล้วสักพัก ได้ติดตามข่าวสารการลงทุน และต้องการที่จะกำหนดสัดส่วนการลงทุนเอง อาจจะไม่เหมาะสมกับกองทุนรวมผสมมากนัก เพราะต้องลงทุนตามกลยุทธ์ของผู้จัดการกองทุน
. ไม่รู้สัดส่วนการลงทุนที่แน่ชัด นอกจากที่นักลงทุนจะไม่สามารถกำหนดสัดส่วนการลงทุนเองได้ ก็จะไม่รู้สัดส่วนการลงทุนที่แน่ชัดเช่นกัน เนื่องจากผู้จัดการกองทุนสามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ได้ตามสถานการณ์ที่เหมาะสม โดยนักลงทุนสามารถดูสัดส่วนการลงทุนได้จากหนังสือชี้ชวน ที่จะมีการอัปเดตในทุกๆ 1 เดือน หรือ 3 เดือน ซึ่งไม่ใช่แบบ real-time
. ขาดอิสระในการเลือกลงทุน ปัจจุบันมีกองทุนรวมให้เลือกลงทุนหลากหลายพันกองทุน และมีจำนวนบลจ. ผู้ออกกองทุน มากกว่า 20 บลจ. ดังนั้นแต่ละบลจ.อาจจะมีความโดดเด่นในแต่ละสินทรัพย์การลงทุนที่แตกต่างกันไป บางบลจ. เด่นด้านตราสารหนี้ บางบลจ. เด่นด้านตราสารทุน ดังนั้นการลงทุนในกองทุนรวมผสม เราสามารถเลือกลงทุนได้เพียง 1 บลจ. ทำให้ขาดอิสระในการคัดเลือกกองทุนที่โดดเด่นของบลจ. นั้นๆ
ต่างจากการซื้อแยกรายกองทุนรวม ที่นักลงทุนมีอิสระในการเลือกซื้อกองทุนด้วยเอง โดยสามารถศึกษาหาข้อมูลได้ว่าแต่ละบลจ. มีความโดดเด่นในสินทรัพย์ด้านไหน และเลือกกำหนดสัดส่วนการลงทุนเองได้
การสับเปลี่ยนกองทุน (Fund S
ปันผล เสร็จ สินทรัพย์ ลง
ไม่มีปันผล ไมต้อง เสีย ภาษี ถ้า ถือ สั้น ผัน ควร ถือ ยาว
การลงทุน มีความเสี่ยง แต่ การไม่ลงทุน อะไร เลย เสี่ยง มากกว่า
ลงทุน กระจาย ความเสี่ยง อย่า ใส่ไข่ ไว้ในตะกร้า ใบเดียว
การลงทุน มีความเสี่ยง ผู้ลงทุน ควรศึกษา ทำความเข้าใจ ก่อน ซื้อ
การลงทุน ในความรู้ ไม่มีความเสี่ยง ลงทุน ในความ ไม่รู้ ด้วยความ รู้
ลงทุน อย่า โลภ โลภ มาก ลาภ หาย
ลงทุน กองทุน บาง กองทุน ไม่มี ขั้นต่ำ 1 บาท บาทเดียว 5 บาท 500 1,000 3,000
ลงทุน กองทุน ต้อง ลงทุน เป็น รอย
ลงทุน ไม่ได้ มี กำไร เสมอ ขาดทุน
ลงทุน DCA บางที ก็มี ข้อเสีย
ลงทุน กองทุน สามารถ สับเปลี่ยน กองทุน ได้
จัดพอร์ต ลงทุน
ถ้า ขาดทุน ถูกหลอก จะ อนุโมทนาบุญ ได้ แค่ไหน
กองทุนรวม เป็นการรวบรวมเงินทุนจากนักลงทุนทั่วไป คนละเล็กคนละน้อย เพื่อรวมเป็นเงินก้อนขนาดใหญ่ แล้วนำเงินที่รวบรวมนั้นไปลงทุนตามที่ได้ตกลงกับนักลงทุน กองทุนที่รวบรวมเงินที่ได้นี้จะได้รับการบริหารจัดการจากบริษัทจัดการกองทุนซึ่งมีหน้าที่ลงทุนแทนนักลงทุนหรือผู้ถือหน่วยลงทุน
ออมกองทุน ก็คือ การค่อย ๆ ทยอยลงทุนใน “กองทุน”
ออมในกองทุน -> เหมาะสำหรับคนที่ยังไม่แน่ใจว่าควรจะเลือก “หุ้น” ตัวไหนดี ไม่แน่ใจว่าตัวไหนจะ “ปัง” ตัวไหนจะ “พัง” จึงฝากให้ผู้เชี่ยวชาญ (ผู้จัดการกองทุน) เป็นคนเลือกให้ มีการกระจายความเสี่ยงให้แล้ว
การลงทุน กองทุน SSF ลดหย่อนภาษี สามารถเลือกลงทุนในตลาดเงิน ตราสารหนี้ หุ้นไทย หุ้นต่างประเทศ สินทรัพย์ทางเลือกอย่างทองคำ และอสังหาริมทรัพย์ หรือจะเลือกกองทุนผสม ที่มีนโยบาลการลงทุนในหลายประเภทสินทรัพย์ก็ได้ นโยบายการลงทุนที่หลากหลายของ SSF ถือเป็นจุดเด่นที่เหนือกว่าการลงทุนในกองทุน LTF แบบเดิมที่เน้นลงทุนในหุ้นไทยเท่านั้น
การลงทุน กองทุน RMF คือกองทุนเพื่อการเลี้ยงชีพ จัดตั้งขึ้นมาเพื่อสนับสนุนให้คนไทยออมเงินเพื่อการเกษียณ โดยจะเป็นการออมแบบบังคับให้ลงทุนยาว ๆ เงื่อนไขหลักคือ ต้องลงทุนอย่างน้อย 5 ปีต่อเนื่อง และต้องมีอายุครบ 55 ปี ถึงจะสามารถขายคืนหน่วยลงทุนมาใช้ได้
การลงทุน กองทุน ETF
กองทุนอีทีเอฟเองก็ถือว่าเหมาะกับนักลงทุนมือใหม่ที่เพิ่งเข้ามาในตลาด และอยาจะลองลงทุนในหุ้นดูก็อาจจะลองลงทุนในอีทีเอฟไปก่อน เนื่องจากอีทีเอฟมีความเสี่ยงที่ต่ำกว่า อย่างน้อย ๆ ก็ถือว่าเราได้ทำความรู้จักตลาด, วิธีการซื้อขาย และวิธีคัดเลือกสินทรัพย์ที่เราจะลงทุน
กองทุน MMF
MMF เป็นกองทุนตราสารหนี้ที่ถูกควบคุมด้วยเกณฑ์เฉพาะที่กาหนดให้กองทุนนั้น ๆ มีความเสี่ยงต่าและ มีสภาพคล่องสูง ทั้งข้อก าหนดที่เข้มเป็นพิเศษในด้านทรัพย์สินที่ให้ลงทุนได้เฉพาะตราสารหนี้ระยะสั้น (อายุ คงเหลือน้อยกว่า 1 ปี) ที่มีสภาพคล่องสูงและมีคุณภาพดีเช่น เงินฝาก พันธบัตรรัฐบาล หรือหุ้นกู้เอกชนที่มี อันดับความน่าเชื่อถือ
กองทุน LTF
เหมาะกับคนที่ไม่เสียภาษี และขาดทุนอยู่ โดยอยากรอเพื่อดูแนวโน้มของตลาดหุ้น เพราะ LTF ลงทุนในตราสารทุนหรือหุ้นไทย ดังนั้นหากนักลงทุนมองว่านโยบายของกองทุนที่ถืออยู่ยังน่าสนใจ มีแนวโน้มจะสร้างผลตอบแทนที่ดีกว่าในอนาคต ประกอบกับบทวิเคราะห์ตลาดหุ้นไทยที่นักวิเคราะห์มองว่าโดยรวมยังอยู่ในทิศทางบวกเพราะเริ่มเห็นสัญญาณการฟื้นตัว
กองทุน Thai ESG
เหมาะสำหรับ : นักลงทุนที่ต้องการความมั่นคง และอยากได้ผลตอบแทนที่มากกว่าฝากเงินในธนาคาร
กองทุนการออมแห่งชาติ กอช
กองทุนการออมแห่งชาติ หรือ กอช. เป็นกองทุนที่เหมาะสำหรับการเก็บเงินไว้ใช้หลังเกษียณ
กองทุนการออมแห่งชาติ หรือ กอช. ถือเป็นช่องทางการเก็บเงินของคนที่มีอาชีพอิสระ ไม่ได้เป็นข้าราชการหรือทำงานประจำกับหน่วยงานรัฐหรือเอกชน และเป็นทางเลือกหรือแหล่งสร้างรายได้ก่อนการเกษียณของคนที่มีอาชีพอิสระเพื่อเก็บไว้ใช้ในหลังเกษียณการทำงาน ให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่สุขสบายหรือเป็นเงินทุนอย่างอื่นในอนาคตได้
กองทุน มีปันผล กองทุน ไม่มีปันผล
กองทุน มีปันผล
ข้อดีของกองทุนปันผล
เป็นแหล่งสร้าง Passive Income ทำให้เรามีกระแสเงินสดเป็นประจำ เพื่อนำมาใช้จ่ายระหว่างทาง
ทำหน้าที่ในการ Take Profits ให้กับเราโดยอัตโนมัติ ทำให้เราได้ผลตอบแทนจากกองทุน ช่วยแก้ปัญหาเวลาที่กองทุนมีกำไรแล้วเราไม่ได้ขายออก
ข้อด้อยของกองทุนปันผล
เงินปันผลที่ได้มาจะถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 10%
มูลค่าหน่วยลงทุน หรือ NAV ของกองทุนไม่ค่อยไปไหน เพราะ NAV ก็ลดลงตามเมื่อกองทุนจ่ายเงินปันผลออกมา ดังนั้น ส่วนต่างกำไร (Capital gain) ของกองทุนปันผลจะไม่เยอะ
กองทุน ไม่มีปันผล
ข้อดีของกองทุนไม่ปันผล
เมื่อเราขายกองทุน ถ้าได้ส่วนต่างกำรไร (Capital gain) ไม่ต้องนำไปเสียภาษี ทำให้เราให้รับกำไรเต็ม ๆ
กองทุนจะนำกำไรจากผลการดำเนินงานไปลงทุนต่อ (Re-invest) ทำให้เกิดการสร้างผลตอบแทนแบบทบต้น และในระยะะยาวเราจะได้ผลตอบแทนก้อนใหญ่กว่ามาก
ข้อด้อยของกองทุนไม่ปันผล
มูลค่าหน่วยลงทุน หรือ NAV ของกองทุนผันผวนตามราคาของสินทรัพย์ที่ลงทุน ทำให้ในระยะเวลาสั้น ๆ กองทุนที่เราถืออยู่อาจจะขาดทุนจึงไม่สามารถขายทำกำไรออกมาได้
ไม่มีกระแสเงินสดระหว่างทาง หากต้องการเงินออกจากกองทุนต้องขายหนวยลงทุนเอง
ลงทุน จัดพอร์ต กองทุน
แยก 1 เป้าหมายต่อ 1 พอร์ต
2. อย่าถือสินทรัพย์ประเภทเดียว หรืออุตสาหกรรมเดียว โดยเฉพาะพอร์ตลงทุนระยะยาว
3. เพิ่มสินทรัพย์ที่มี Negative/Zero Correlation เข้าไปในพอร์ต
4. อย่ามองแค่อัตราผลตอบแทน แต่ให้ดูความคุ้มค่าความเสี่ยง
5. Review และ Rebalance พอร์ตทุกปี
5 ขั้นตอน การเลือกกองทุน
1. การเลือกกองทุนรวม ก่อนซื้อต้องสำรวจตัวเองกันก่อน
ว่าเราต้องการอะไรจากการลงทุน ลองถามตัวเองสำคัญที่สุด อย่าไปตามคนอื่น เช่น อยากลงทุนในสินทรัพย์อะไร หุ้นไทย หุ้นต่างประเทศ ตราสารหนี้ ทองคำหรืออสังหาริมทรัพย์ แล้วต้องการปันผลมั้ย ความเสี่ยงที่รับได้เป็นยังไง ? และระยะเวลาในการลงทุนจะลงนานแค่ไหน ? และที่สำคัญ ถึงแม้จะลงทุนผ่านกองทุนรวมที่มีมืออาชีพคอยดูแลอยู่ ก็ควรมีความรู้ความเข้าใจในลักษณะของ “สินทรัพย์” ที่กำลังจะลงทุนด้วย เพราะอย่าลืมว่าถ้าสินทรัพย์ที่เรากำลังจะลงทุน อยู่ในจังหวะที่ไม่เหมาะต่อการลงทุนหรืออยู่ในช่วงขาลงก็ยากที่กองทุนรวมจะได้กำไรเช่นกัน ขั้นตอนแรกจึงต้องเริ่มต้นสำรวจที่ความต้องการของเราก่อนเสมอ เราจะได้รู้ว่าเราควรเลือกดูกองทุนประเภทไหน แล้วจะได้หยิบจับกองทุนรวมที่น่าสนใจมาเปรียบเทียบกันได้อย่างเหมาะสมนั่นเอง
2. ดูรายละเอียดกองทุนรวมผ่าน Fund Fact Sheet ทุกครั้ง
ดูได้จากสิ่งที่มีชื่อเรียกเท่ ๆ ว่า “Fund Fact Sheet” แต่ไม่ต้องสับสนหรือตกใจว่ามันยาก เพราะใน Fund Fact Sheet นั้นบอกเราเกือบทุกอย่าง ว่ากองทุนนั้นมันเป็นยังไง ไม่ว่าจะนำเงินที่เราลงทุนไปลงทุนในอะไร ขนาดกองทุน จ่ายปันผลมั้ย ขั้นต่ำที่ซื้อได้ครั้งละเท่าไร แล้วก็พวกค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ก็บอกด้วยทั้งหมดเช่นกัน นอกจากนี้ก็ยังมีพวกอายุของกองทุน ว่าผ่านร้อนผ่านหนาวมาเยอะแค่ไหน สภาพคล่องของกองทุน บางกองก็ไม่สามารถขายได้ทันที ควรศึกษาให้ละเอียดหน่อย เพื่อสอดคล้องเป้าหมายการลงทุนของเรา พวกเอกสารก็โหลดได้จากหน้า Website ของ บลจ. ที่ดูแลกองทุนนั้นได้เลย ช่วงแรกอาจจะงง ๆ หน่อย สักพักเราจะอ่านได้คล่องมากขึ้นเอง
3. การเลือกกองทุนรวม ที่ดีต้องให้ผลตอบแทนอย่างสม่ำเสมอ
เคยซื้อหวยแล้วถูกบ้างมั้ย ? ตอนที่เราถูกเราคงรู้สึกว่าเรานี่โชคดีสุด ๆ ไปเลย สำหรับ กองทุนรวมก็เหมือนกัน บางกองทุนผลตอบแทนอาจจะดีมากอยู่แค่ 1 ปี ถ้าเป็นลักษณะนี้ก็สรุปไม่ได้ว่ากองทุนรวมนั้นดีจริง เพราะอาจจะแค่โชคดีก็เป็นไปได้ ผลตอบแทนย้อนหลัง” ถ้ามันดีมาอย่างสม่ำเสมอก็เป็นกองทุนที่น่าสนใจ และแน่นอนว่าข้อมูลเหล่านี้หาได้จาก Fund Fact Sheet ได้เช่นกัน
4. ถึงจะเป็นกองทุนก็มีความเสี่ยง
เมื่อขึ้นชื่อว่าการลงทุนแน่นอนว่าต้องมีความเสี่ยง ความเสี่ยงที่การลงทุนจะทำผลตอบแทนไม่เป็นไปอย่างที่คาดการณ์ไว้ ซึ่งกองทุนรวมก็มีความเสี่ยงเช่นเดียวกัน
ตัวเลขที่เราสามารถวัดค่าความเสี่ยงได้คือ Standard Deviation หรือ S.D. ค่ายิ่งสูง แปลว่า ยิ่งเสี่ยง แต่การใช้ตัวเลข ตัวนี้เหมาะกับการเปรียบเทียบกองทุนรวมที่ลงทุนในแหล่งเดียวกันเท่านั้น เช่น กองทุนรวมหุ้นเหมือนกัน หรือกองทุนตราสารหนี้เหมือนกัน ขอแนะนำ Sharpe Ratio ความหมายง่าย ๆ คือ ยิ่งสูงยิ่งดี หากดูกองทุนที่ประเภทเดียวกันแล้วกองทุนกองไหน Sharpe Ratio สูงกว่า แสดงว่ากองทุนรวมนั้นสามารถทำผลงานได้น่าสนใจกว่า
5. ตรวจสอบและติดตามอย่างต่อเนื่อง
ถึงแม้การลงทุนผ่านกองทุนรวมจะมีผู้จัดการกองทุนคอยปรับพอร์ตการลงทุนให้เราอย่างต่อเนื่อง แต่สิ่งที่ห้ามลืมโดยเด็ดขาดเลยก็คือ “การตรวจสอบและติดตาม” กองทุนรวมที่เราลงทุนอย่างน้อยทุก 6 เดือนหรือ 1 ปี เพื่อให้เรามั่นใจได้ว่ากองทุนรวมที่เราเลือกลงทุนอยู่ยังเป็นกองทุนรวมที่ดีและสามารถสร้างผลตอบแทนได้ดีกว่า “มาตรฐานการดำเนินงาน (Benchmark)” และกองทุนคู่แข่ง อยู่เสมอ หรือถ้ามีผลการดำเนินงานที่ต่ำลง เราก็ควรไปเจาะลึกดูพอร์ตการลงทุนของกองทุนรวมอีกครั้งหนึ่งว่ามันเกิดอะไรขึ้น แล้ววิเคราะห์ถึงสาเหตุว่าเป็นเพราะอะไร ถ้าตรวจสอบแล้วยังเป็นกองทุนที่ดีก็สามารถถือลงทุนต่อได้ แต่ถ้าดูแล้วไม่น่าไหว เราก็อาจจะขายแล้วเปลี่ยนไปเลือกกองทุนรวมที่ดี ข้อดีของการลงทุนผ่านกองทุนรวมก็คือ เราสามารถหาสิ่งที่ดีที่สุดให้กับตัวเราเองได้เสมอ
ข้อดี กองทุน
. สะดวกสบาย ลงทุนเพียง 1 กองทุน แต่ได้ลงทุนมากกว่า 1 สินทรัพย์ สำหรับมือใหม่ที่อยากเริ่มต้นลงทุน กองทุนรวมผสมเป็นทางเลือกการลงทุนที่น่าสนใจเลยทีเดียว
. ใช้เงินลงทุนน้อย ในปัจจุบันการลงทุนในกองทุนรวมของหลายๆ กองทุนใช้เงินเริ่มต้นเพียง 1 บาท แต่ในบางกองทุนก็ยังกำหนดขั้นต่ำในการลงทุนอยู่ เช่น 500 บาท 1,000 บาท 2,000 บาท เป็นต้น ดังนั้นสำหรับนักลงทุนที่มีเงินลงทุนจำกัด การลงทุนในกองทุนรวมผสม ก็เป็นทางเลือกที่ใช้เงินลงทุนน้อย และยังสามารถลงทุนได้หลายสินทรัพย์ในคราวเดียว
. ติดตามผลการดำเนินการได้ง่าย นักลงทุนควรจะติดตามผลการดำเนินงานทุกๆ 6 เดือน หรือ 1 ปี การที่ลงทุนในกองทุนผสมเพียงกองเดียว ช่วยให้ติดตามได้ง่าย และสะดวกมากกว่า
. มีการปรับพอร์ตอยู่เสมอ การที่เลือกลงทุนในกองทุนรวมผสมบางกองทุน อาจมีปรับกลยุทธ์ตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งคนที่คอยปรับพอร์ตการลงทุน คือ ผู้จัดการกองทุนนั่นเอง ช่วยให้เราไม่จำเป็นต้องติดตามสถานการณ์การลงทุนมากนัก
ต่างจากการซื้อแยกรายกองทุนรวม ที่นักลงทุนต้องคอยศึกษาว่ากองทุนไหนดี กำหนดสัดส่วนในการลงทุนเอง หากอยากลงทุนในสัดส่วน 70:30 (ตราสารทุน:ตราสารหนี้) ต้องคอยปรับพอร์ตให้สมดุลเอง เพื่อให้ยังเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และต้องใช้เงินลงทุนเพิ่มขึ้นเพราะต้องซื้อถึง 2 กองทุน
ข้อเสีย กองทุน
. ไม่สามารถกำหนดสัดส่วนการลงทุนเองได้ สำหรับนักลงทุนที่ลงทุนมาแล้วสักพัก ได้ติดตามข่าวสารการลงทุน และต้องการที่จะกำหนดสัดส่วนการลงทุนเอง อาจจะไม่เหมาะสมกับกองทุนรวมผสมมากนัก เพราะต้องลงทุนตามกลยุทธ์ของผู้จัดการกองทุน
. ไม่รู้สัดส่วนการลงทุนที่แน่ชัด นอกจากที่นักลงทุนจะไม่สามารถกำหนดสัดส่วนการลงทุนเองได้ ก็จะไม่รู้สัดส่วนการลงทุนที่แน่ชัดเช่นกัน เนื่องจากผู้จัดการกองทุนสามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ได้ตามสถานการณ์ที่เหมาะสม โดยนักลงทุนสามารถดูสัดส่วนการลงทุนได้จากหนังสือชี้ชวน ที่จะมีการอัปเดตในทุกๆ 1 เดือน หรือ 3 เดือน ซึ่งไม่ใช่แบบ real-time
. ขาดอิสระในการเลือกลงทุน ปัจจุบันมีกองทุนรวมให้เลือกลงทุนหลากหลายพันกองทุน และมีจำนวนบลจ. ผู้ออกกองทุน มากกว่า 20 บลจ. ดังนั้นแต่ละบลจ.อาจจะมีความโดดเด่นในแต่ละสินทรัพย์การลงทุนที่แตกต่างกันไป บางบลจ. เด่นด้านตราสารหนี้ บางบลจ. เด่นด้านตราสารทุน ดังนั้นการลงทุนในกองทุนรวมผสม เราสามารถเลือกลงทุนได้เพียง 1 บลจ. ทำให้ขาดอิสระในการคัดเลือกกองทุนที่โดดเด่นของบลจ. นั้นๆ
ต่างจากการซื้อแยกรายกองทุนรวม ที่นักลงทุนมีอิสระในการเลือกซื้อกองทุนด้วยเอง โดยสามารถศึกษาหาข้อมูลได้ว่าแต่ละบลจ. มีความโดดเด่นในสินทรัพย์ด้านไหน และเลือกกำหนดสัดส่วนการลงทุนเองได้
การสับเปลี่ยนกองทุน (Fund S
แสดงความคิดเห็น
กองทุนรวมผ่าน Ascend Wealth ใน TrueMoney เงินปันผล