ขั้นตอนวิธีการเช็กอาการตาเหล่ ตาเข เบื้องต้น
1. ใช้โทรศัพย์มือถือ ถ่ายรูป
2. เปิดแสงแฟลชกล้องถ่ายรูป ในมือถือ
3. ให้เด็กมองที่กล้องตรงๆ แล้วกดถ่ายรูป
4. ดูผลของรูปที่ถ่าย โดยสังเกตุจากแสงไฟ ที่สะท้อนออกมาจากตาของเด็ก
วิธีดูผลของรูปถ่าย เพื่อประเมินอาการตาเหล่ ตาเข
โดยให้สังเกตุที่แสงไฟสะท้อนที่ออกมาจากตาของเด็ก ดังนี้
ถ้าแสงไฟสะท้อนอยู่กลางตาดำ = ตาปกติ ไม่มีอาการตาเหล่ ตาเข
ถ้าแสงไฟสะท้อนตกไปด้านข้างๆ ของตา = เด็กอาจจะมีอาการตาเหล่ ตาเข แนะนำพบคุณหมอจักษุแพทย์ค่ะ
และถ้าหากคุณพ่อคุณแม่ท่านใด ลองถ่ายรูปที่ตาของลูกๆ หลานๆ แล้วพบว่า แสงไฟที่สะท้อนออกมาจากตาของเด็ก ไม่อยู่ตรงกลางตาดำ แนะนำพาเด็กตรวจตากับคุณหมอจักษุแพทย์ค่ะ โดยตรวจตากับคุณหมอจักษุแพทย์ที่เฉพาะทางด้านกล้ามเนื้อตา และเชี่ยวชาญด้านการตรวจตาเหล่ ตาเข โดยตรงค่ะ
คุณหมอเฉพาะทางจะมีขั้นตอนวิธีการตรวจตาเหล่ ตาเข โดยเฉพาะ และเด็กๆ ก็จะได้รับการตรวจสุขภาพตาไปด้วยค่ะ
หากคุณพ่อคุณแม่ ท่านใดเช็คแล้วไม่มั่นใจ ว่าเด็กมีอาการตาเหล่ ตาเขไหม? จะต้องทำยังไง?
แนะนำพาลูกๆ หลานๆ ทุกท่านตรวจสุขภาพตาทุกๆ ปี ปีละครั้งค่ะ เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพตา และป้องกันการเกิดโรคตาตามมาในอนาตคได้ด้วยค่ะ
ขั้นตอนวิธีการเช็คอาการตาเหล่ ตาเข เบื้องต้นสำหรับคุณพ่อ คุณแม่ค่ะ
1. ใช้โทรศัพย์มือถือ ถ่ายรูป
2. เปิดแสงแฟลชกล้องถ่ายรูป ในมือถือ
3. ให้เด็กมองที่กล้องตรงๆ แล้วกดถ่ายรูป
4. ดูผลของรูปที่ถ่าย โดยสังเกตุจากแสงไฟ ที่สะท้อนออกมาจากตาของเด็ก
วิธีดูผลของรูปถ่าย เพื่อประเมินอาการตาเหล่ ตาเข
โดยให้สังเกตุที่แสงไฟสะท้อนที่ออกมาจากตาของเด็ก ดังนี้
ถ้าแสงไฟสะท้อนตกไปด้านข้างๆ ของตา = เด็กอาจจะมีอาการตาเหล่ ตาเข แนะนำพบคุณหมอจักษุแพทย์ค่ะ
และถ้าหากคุณพ่อคุณแม่ท่านใด ลองถ่ายรูปที่ตาของลูกๆ หลานๆ แล้วพบว่า แสงไฟที่สะท้อนออกมาจากตาของเด็ก ไม่อยู่ตรงกลางตาดำ แนะนำพาเด็กตรวจตากับคุณหมอจักษุแพทย์ค่ะ โดยตรวจตากับคุณหมอจักษุแพทย์ที่เฉพาะทางด้านกล้ามเนื้อตา และเชี่ยวชาญด้านการตรวจตาเหล่ ตาเข โดยตรงค่ะ
คุณหมอเฉพาะทางจะมีขั้นตอนวิธีการตรวจตาเหล่ ตาเข โดยเฉพาะ และเด็กๆ ก็จะได้รับการตรวจสุขภาพตาไปด้วยค่ะ
หากคุณพ่อคุณแม่ ท่านใดเช็คแล้วไม่มั่นใจ ว่าเด็กมีอาการตาเหล่ ตาเขไหม? จะต้องทำยังไง?
แนะนำพาลูกๆ หลานๆ ทุกท่านตรวจสุขภาพตาทุกๆ ปี ปีละครั้งค่ะ เพื่อเป็นการดูแลสุขภาพตา และป้องกันการเกิดโรคตาตามมาในอนาตคได้ด้วยค่ะ