วันนี้ได้อ่านหลายกระทู้ แตกตื่นกันเรื่องมีการต้องจ่ายเงินเพิ่ม 1% ถ้าใช้ VISA, MASTERCARD, AMEX และมีความสับสนในข้อมูลที่คนส่วนใหญ่ไม่รู้ บางคนยังคิดด้วยว่า ทางธุรกิจของฝรั่งเป็นคนคิดเพิ่มเองด้วย (ซึ่งไม่จริง)
จากที่อ่านมาดูเหมือนจะเกิดจากทางธนาคารในประเทศไทยจะมีคิดค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 1%
คำถามคือ คนไทยเข้าใจไหมว่า เวลาใช้บัตรของฝรั่งมันมีค่าธรรมเนียมหลักๆคือ
1. processing fees อันนี้ร้านจ่าย ลูกค้าไม่เห็น
A transaction fee is a percentage that pays for the interchange between all the parties involved in the transfer of money from one place to another: the card’s issuing bank, the credit card network (Visa, Mastercard, American Express), the payment processor, and ultimately, your bank when it deposits money into your account.
2. เมื่อมีการใช้บัตรซื้อของที่ต่างประเทศ หรือ ซื้อของออนไลน์ของบริษัทต่างประเทศ ธนาคารจะคิด foreign transaction fees ประมาณ 1%-3% โดยเฉลี่ย (แต่ไม่ใช่ทุกธนาคารในอเมริกาจะคิดส่วนนี้ แต่ส่วนใหญ่คิด และ คิดว่าของไทยไม่มียกเว้น)
3. merchant fees
แล้วเคยถาม หรือ สังเกตไหมว่าทุกครั้งที่ใช้ มันมีค่าใช้จ่ายอะไรเท่าไหร่บ้าง
ยกตัวอย่าง.. ส่วนตัว ไม่มีบัตรของไทย ใช้ของอเมริกา และ เดินทางเรื่อยๆทุกปี ดังนั้นจึงเลือกใช้แบบ no annual fees, no foreign transaction fees สิ่งที่ต้องเจอทุกครั้งนอกอเมริกาคือ ค่าเงินขึ้นๆลงๆ ของราคาเท่าเดิมในเงินบาท แต่จ่ายเป็นดอลลาร์แต่ละครั้งไม่เท่ากัน และ อัตราแลกเปลี่ยนไม่ดีเท่าเงินสดแลกจากร้านแลกเงิน เช่น Superrich
ไม่มีบัตรของไทย จึงไม่รู้เวลาพวกคุณใช้มันซื้อของจากบริษัทต่างประเทศ พวกคุณคำนวณแล้วมันถูกต้องไหม
ส่วนคนที่จะเลิกใช้บัตรของฝรั่งก็เป็นเรื่องส่วนตัว แต่อยากรู้เหมือนกันว่า อันนี้อยากรู้เฉยๆนะว่า จริงหรือ ที่บัตรไทย บัตรจีน ไม่คิดค่าธรรมเนียมแบบฝรั่ง
แต่ส่วนตัวเองก็ต้องใช้บัตรฝรั่งต่อไปเพราะมีรายได้เป็นเงินฝรั่ง บัตรควรเป็น local currency ของตัวเอง
credit card fees ที่จะเพิ่มขึ้นในปีนี้
จากที่อ่านมาดูเหมือนจะเกิดจากทางธนาคารในประเทศไทยจะมีคิดค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมอีก 1%
คำถามคือ คนไทยเข้าใจไหมว่า เวลาใช้บัตรของฝรั่งมันมีค่าธรรมเนียมหลักๆคือ
1. processing fees อันนี้ร้านจ่าย ลูกค้าไม่เห็น
A transaction fee is a percentage that pays for the interchange between all the parties involved in the transfer of money from one place to another: the card’s issuing bank, the credit card network (Visa, Mastercard, American Express), the payment processor, and ultimately, your bank when it deposits money into your account.
2. เมื่อมีการใช้บัตรซื้อของที่ต่างประเทศ หรือ ซื้อของออนไลน์ของบริษัทต่างประเทศ ธนาคารจะคิด foreign transaction fees ประมาณ 1%-3% โดยเฉลี่ย (แต่ไม่ใช่ทุกธนาคารในอเมริกาจะคิดส่วนนี้ แต่ส่วนใหญ่คิด และ คิดว่าของไทยไม่มียกเว้น)
3. merchant fees
แล้วเคยถาม หรือ สังเกตไหมว่าทุกครั้งที่ใช้ มันมีค่าใช้จ่ายอะไรเท่าไหร่บ้าง
ยกตัวอย่าง.. ส่วนตัว ไม่มีบัตรของไทย ใช้ของอเมริกา และ เดินทางเรื่อยๆทุกปี ดังนั้นจึงเลือกใช้แบบ no annual fees, no foreign transaction fees สิ่งที่ต้องเจอทุกครั้งนอกอเมริกาคือ ค่าเงินขึ้นๆลงๆ ของราคาเท่าเดิมในเงินบาท แต่จ่ายเป็นดอลลาร์แต่ละครั้งไม่เท่ากัน และ อัตราแลกเปลี่ยนไม่ดีเท่าเงินสดแลกจากร้านแลกเงิน เช่น Superrich
ไม่มีบัตรของไทย จึงไม่รู้เวลาพวกคุณใช้มันซื้อของจากบริษัทต่างประเทศ พวกคุณคำนวณแล้วมันถูกต้องไหม
ส่วนคนที่จะเลิกใช้บัตรของฝรั่งก็เป็นเรื่องส่วนตัว แต่อยากรู้เหมือนกันว่า อันนี้อยากรู้เฉยๆนะว่า จริงหรือ ที่บัตรไทย บัตรจีน ไม่คิดค่าธรรมเนียมแบบฝรั่ง
แต่ส่วนตัวเองก็ต้องใช้บัตรฝรั่งต่อไปเพราะมีรายได้เป็นเงินฝรั่ง บัตรควรเป็น local currency ของตัวเอง