คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
นับฝ่ายชายเป็นหลัก
ประเด็นคือ " พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า" เป็นฐานันดรที่เกิดจาการพระราชทานให้บุคคลเป็นการส่วนพระองค์
ฐานันดรนั้นจึงไม่ใช่ลำดับแห่งชั้นฐานนันดร อย่างเช่น หม่อมเจ้าทำคุณงามความดีจนกษัตริย์ตั้งให้เป็นพระองค์เจ้า
แต่เป็นเพราะอันดับความเป็นญาติ ต่ำกว่าพระองค์เจ้า
คำนำหน้าพระนามจึงต้องใช้"พระวรวงศ์เธอ" จะใช้"พระบรมวงศ์เธอ"ไม่ได้
ตามที่บอกในตอนต้น ฐานันดรนั้นเป็นเรื่องเฉพาะตน เหตุนี้ลูกที่เกิดมาจะต้องเป็นหม่อมราชวงศ์
ต้องนับชั้นลำดับญาติที่แท้จริงคือ ต้องนับหม่อมเจ้าของพ่อ ไม่ใช่นับพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า
อนึ่งต่อให้แม่เป็นพระองค์เจ้าหรือหม่อมเจ้า ถ้าพ่อเป็นสามัญชน ลูกก็เป็นสามัญชนตามพ่อ
ในอดีต เชื้อพระวงศ์ที่เป็นหญิงถ้าจะแต่งงานออกเรือนกับสามัญชน จะต้องสละหรือลาออกจากฐานันดรก่อน
คือมาเป็นสามัญชนนั้นเอง แต่ไม่ได้หมายความว่า พระเจ้าอยู่หัวจะทรงพระราชทานฐานันดรให้ไม่ได้
จากสามัญชนก็สามารถเป็นพระองค์เจ้าได้
ประเด็นคือ " พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า" เป็นฐานันดรที่เกิดจาการพระราชทานให้บุคคลเป็นการส่วนพระองค์
ฐานันดรนั้นจึงไม่ใช่ลำดับแห่งชั้นฐานนันดร อย่างเช่น หม่อมเจ้าทำคุณงามความดีจนกษัตริย์ตั้งให้เป็นพระองค์เจ้า
แต่เป็นเพราะอันดับความเป็นญาติ ต่ำกว่าพระองค์เจ้า
คำนำหน้าพระนามจึงต้องใช้"พระวรวงศ์เธอ" จะใช้"พระบรมวงศ์เธอ"ไม่ได้
ตามที่บอกในตอนต้น ฐานันดรนั้นเป็นเรื่องเฉพาะตน เหตุนี้ลูกที่เกิดมาจะต้องเป็นหม่อมราชวงศ์
ต้องนับชั้นลำดับญาติที่แท้จริงคือ ต้องนับหม่อมเจ้าของพ่อ ไม่ใช่นับพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า
อนึ่งต่อให้แม่เป็นพระองค์เจ้าหรือหม่อมเจ้า ถ้าพ่อเป็นสามัญชน ลูกก็เป็นสามัญชนตามพ่อ
ในอดีต เชื้อพระวงศ์ที่เป็นหญิงถ้าจะแต่งงานออกเรือนกับสามัญชน จะต้องสละหรือลาออกจากฐานันดรก่อน
คือมาเป็นสามัญชนนั้นเอง แต่ไม่ได้หมายความว่า พระเจ้าอยู่หัวจะทรงพระราชทานฐานันดรให้ไม่ได้
จากสามัญชนก็สามารถเป็นพระองค์เจ้าได้
แสดงความคิดเห็น
ถ้าลูกที่เกิดจาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า กับ หม่อมเจ้าหญิง ลูกจะเรียกว่าอะไรคะ