ผมได้ไปดูคลิปจากช่องยูทูปช่องหนึ่งที่เกี่ยวกับทฤษฎีสัมพัทธภาพ
ผมเลยมีคำถามสงสัยว่า คือ 1.แสงมีความเร็วเป็นค่าสัมบูรณ์เป็นหนึ่งเดียวกับจักรวาลมีค่า 299,792,458 เมตร/วินาที แต่ 2.เนื่องจากมวลของดวงดาว เช่น โลกของเรา ทำให้พื้นที่ในอวกาสเกิดการบิดเบี้ยวเป็นเส้นโค้ง ทำให้แสงนั้นเดินทางเป็นเส้นโค้งเมื่อเข้าใกล้ดวงดาว แต่ที่ผมงงคือเมื่อแสงเดินทางเป็นเส้นโค้งนั้นแปลว่าระยะทางของแสงมันต้องมากขึ้นตามที่ผมเข้าใจ จากสูตร V = S / T ดังนั้นแล้วทำไมแสงยังคงมีความเร็วเท่าเดิมเสมอ? ทั้งที่ระยะทางมันเพิ่มขึ้น มันต้องช้าลงไม่ใช่หรอ? เมื่อเทียบกับพื้นที่ในอวกาศที่ไม่มีผลของมวลจากดวงดาวที่ทำให้เกิดการบิดโค้งของกาลอวกาศ แต่จากที่ผมฟังมาจากหลายวิดีโอคือถ้ามวลของดาวมากเวลาจะสั้นลงนั้นแปลว่าตัวหารที่เป็น T ที่มีค่าน้อยยิ่งทำให้ค่า V มากขึ้นไม่ใช่หรอครับ? ถ้าค่า S มากขึ้น T ก็ต้องมากขึ้นเพื่อให้ค่า V คงที่ไม่ใช่หรอครับ ไม่ทราบว่าผมงงตรงไหนหรือมีใครอธิบายเปรียบเทียบให้ผมเข้าใจได้อย่างง่ายๆบ้างครับ
ขอบคุณครับ 🙏🏻
ทำไมแสงถึงมีค่าคงที่สัมบูรณ์กับเอกภพหรอครับ?
ผมเลยมีคำถามสงสัยว่า คือ 1.แสงมีความเร็วเป็นค่าสัมบูรณ์เป็นหนึ่งเดียวกับจักรวาลมีค่า 299,792,458 เมตร/วินาที แต่ 2.เนื่องจากมวลของดวงดาว เช่น โลกของเรา ทำให้พื้นที่ในอวกาสเกิดการบิดเบี้ยวเป็นเส้นโค้ง ทำให้แสงนั้นเดินทางเป็นเส้นโค้งเมื่อเข้าใกล้ดวงดาว แต่ที่ผมงงคือเมื่อแสงเดินทางเป็นเส้นโค้งนั้นแปลว่าระยะทางของแสงมันต้องมากขึ้นตามที่ผมเข้าใจ จากสูตร V = S / T ดังนั้นแล้วทำไมแสงยังคงมีความเร็วเท่าเดิมเสมอ? ทั้งที่ระยะทางมันเพิ่มขึ้น มันต้องช้าลงไม่ใช่หรอ? เมื่อเทียบกับพื้นที่ในอวกาศที่ไม่มีผลของมวลจากดวงดาวที่ทำให้เกิดการบิดโค้งของกาลอวกาศ แต่จากที่ผมฟังมาจากหลายวิดีโอคือถ้ามวลของดาวมากเวลาจะสั้นลงนั้นแปลว่าตัวหารที่เป็น T ที่มีค่าน้อยยิ่งทำให้ค่า V มากขึ้นไม่ใช่หรอครับ? ถ้าค่า S มากขึ้น T ก็ต้องมากขึ้นเพื่อให้ค่า V คงที่ไม่ใช่หรอครับ ไม่ทราบว่าผมงงตรงไหนหรือมีใครอธิบายเปรียบเทียบให้ผมเข้าใจได้อย่างง่ายๆบ้างครับ
ขอบคุณครับ 🙏🏻