สิงคโปร์มีประชากรที่นับถือ ศาสนาพุทธมากที่สุด คิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ ๔๒.๕ ตามด้วยศาสนาอิสลามร้ อยละ ๑๔.๙
คริสเตียนร้ อยละ ๙.๘ ลัทธิเต๋าร้ อยละ ๘.๕ คาทอลิกร้ อยละ ๔.๘ ฮินดูร้ อยละ ๔ ศาสนาอื่น ๆ
ร้อยละ ๐.๗ และอีกร้อยละ ๑๔.๘ ไม่นับถือศาสนาใดเลย
วันหยุดประจำปี ของสิงคโปร์สะท้ อนการให้ ความส าคัญอย่างเท่าเทียมต่อศาสนาที่
หลากหลายของประเทศ กล่าวคือ ในจ านวนวันหยุดประจ าปี ทั ้งหมด ๑๑ วัน มีวันหยุดที่เกี่ยวกับ
ศาสนาถึง ๖ วัน ได้แก่วันที่เกี่ยวข้องกับศาสนาอิสลาม คือ Hari Raya Puasa กับ Hari Raya Haji
วันที่เกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธ คือ วันวิสาขบูชา วันที่เกี่ยวข้องกับศาสนาฮินดูคือ วัน Deepavali
และวันที่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์คือวัน Good Friday และวันคริสต์มาส นอกจากนี ้สิงคโปร์ยัง
เต็มไปด้วยสิ่งก่อสร้างทางศาสนาทั ้ง วัดวาอาราม ศาลเจ้าแบบจีนและฮินดูโบสถ์คริสต์และมัสยิด
ทั่วประเทศ
ปัจจุบัน สิงค์โปร์ มีศาลอิสลาม ที่ใช้กฏหมายอิสลามเพื่อ จัดการปัญหาครอบครัวและ การหย่าร้าง
ให้กับ สังคมมุสลิมสิงค์โปร์ มีประชาชนมุสลิมจำนวนมากที่เข้าไปใช้บริการเพื่อแก้ไขปัญหาชีวิต
หรือจัดการปัญหาครอบครัว แสดงให้เห็นว่า
.ประเทศที่เจริญกว่าประเทศไทยนั้น มีศาลอิสลาม และ การบังคับใช้กฏหมายอิสลามได้
เนื่องจากกฏหมายอิสลามนั้น ใช้กับผุ้เป็นมุสลิมโดยเฉพาะในประเด็ฯ การแต่งงาน การหย่า ครอบครัว บุตร
มรดก ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับ บุคคลที่ไมไ่ด้นับถือศาสนาอิสลามหรือออกจากการนับถือศาสนาอิสลาม
เช่นในประเทศไทย ถ้าคุณไม่ตอ้งการใช้กฏหมายอิสลามในพื้นที่สามจังหวัด
คุณแค่
1.ไม่ยื่นฟ้องต่อศาลที่ใช้การตัดสินตามกฏหมายอิสลาม แต่ไปยื่นฟ้องต่อศาลแพ่งตามปกติ
2.ออกจากศาสนาอิสลาม เป็นต้น
ซึ่งข้อกังวลใดๆที่ เกินเลยเกี่ยวกับกฏหมายอิสลาม เกี่ยวกับอภิสิทธิต่างๆนั้นเกินความเป็นจริง
มุสลิมไม่ได้รับการคุ้มครองจากรัฐ หรือไม่ได้รับภาษี มากกว่าปกติ เมื่อใช้กฏหมายอิสลาม
อย่างไรก็ดี
ข้อกังวลกว่า เกี่ยวกับศาสนาอิสลามนั้นคือ การจัดการของผู้เป็นมุสลิมนั้นยังไร้คุณภาพ จำนวนมาก
เราสามารถดูได้จาก ปัญหาที่เกิดขึ้นที่ศาลอิสลามในประเทศสิงค์โปร์ เองที่ได้รับการร้องเรียนในเชิงลบ
เรียกได้ว่าถ้ามีให้คะแนนติดลบ คงจะมีให้แล้ว
ในเรื่อง การบริหารจัดการ และ การบริหารจัดการที่ขาดคุณภาพ ทำให้ ครอบครัวที่พึ่งพาไม่ได้รับความเป็นธรรม
เช่น การตอบข้อความล่าช้า การออกเอกสารล่าช้า การมีอคติต่อเพศหญิงของเจ้าหน้าที่
การให้ข้อมูลไม่ครบถ้วนอื่นๆ
นั่นคือข้อน่ากังวลกว่าเกี่ยวกับการใช้กฏหมายอิสลามในประเทศไทย ไม่ใช่ประเด็น
ที่เข้าใจกันนั่นเอง ดังนั้นเกี่ยวกับกฏหมายอิสลามในประเทศไทยนั้น
อาจจะตต้องไปเริ่มที่มองการพัฒนา หน่วยงานขนาดเล็กท้องถิ่นให้เข้มแข็งและเป็นระบบ
ก่อนจึงค่อยเริ่มพัฒนาองค์กรตัดสินกลางสำหรับชุมชนมุสลิมอีกครั้ง
รวมถึงการให้ความรู้ความเข้าใจกับเพื่อนต่างศาสนา
และช่วยกันก้าวข้ามกำแพงความเกลียดชัง และการสร้างความเข้าใจผิด
ข้ามเรื่องการเมืองศาสนา ทั้งหมดนี้เป็นส่วนสำคัญของการ
สร้างสังคมพหุวัฒนธรรม
Yaoharee Lahtee
กฏหมายอิสลามในประเทศสิงค์โปร์
คริสเตียนร้ อยละ ๙.๘ ลัทธิเต๋าร้ อยละ ๘.๕ คาทอลิกร้ อยละ ๔.๘ ฮินดูร้ อยละ ๔ ศาสนาอื่น ๆ
ร้อยละ ๐.๗ และอีกร้อยละ ๑๔.๘ ไม่นับถือศาสนาใดเลย
วันหยุดประจำปี ของสิงคโปร์สะท้ อนการให้ ความส าคัญอย่างเท่าเทียมต่อศาสนาที่
หลากหลายของประเทศ กล่าวคือ ในจ านวนวันหยุดประจ าปี ทั ้งหมด ๑๑ วัน มีวันหยุดที่เกี่ยวกับ
ศาสนาถึง ๖ วัน ได้แก่วันที่เกี่ยวข้องกับศาสนาอิสลาม คือ Hari Raya Puasa กับ Hari Raya Haji
วันที่เกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธ คือ วันวิสาขบูชา วันที่เกี่ยวข้องกับศาสนาฮินดูคือ วัน Deepavali
และวันที่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์คือวัน Good Friday และวันคริสต์มาส นอกจากนี ้สิงคโปร์ยัง
เต็มไปด้วยสิ่งก่อสร้างทางศาสนาทั ้ง วัดวาอาราม ศาลเจ้าแบบจีนและฮินดูโบสถ์คริสต์และมัสยิด
ทั่วประเทศ
ปัจจุบัน สิงค์โปร์ มีศาลอิสลาม ที่ใช้กฏหมายอิสลามเพื่อ จัดการปัญหาครอบครัวและ การหย่าร้าง
ให้กับ สังคมมุสลิมสิงค์โปร์ มีประชาชนมุสลิมจำนวนมากที่เข้าไปใช้บริการเพื่อแก้ไขปัญหาชีวิต
หรือจัดการปัญหาครอบครัว แสดงให้เห็นว่า
.ประเทศที่เจริญกว่าประเทศไทยนั้น มีศาลอิสลาม และ การบังคับใช้กฏหมายอิสลามได้
เนื่องจากกฏหมายอิสลามนั้น ใช้กับผุ้เป็นมุสลิมโดยเฉพาะในประเด็ฯ การแต่งงาน การหย่า ครอบครัว บุตร
มรดก ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับ บุคคลที่ไมไ่ด้นับถือศาสนาอิสลามหรือออกจากการนับถือศาสนาอิสลาม
เช่นในประเทศไทย ถ้าคุณไม่ตอ้งการใช้กฏหมายอิสลามในพื้นที่สามจังหวัด
คุณแค่
1.ไม่ยื่นฟ้องต่อศาลที่ใช้การตัดสินตามกฏหมายอิสลาม แต่ไปยื่นฟ้องต่อศาลแพ่งตามปกติ
2.ออกจากศาสนาอิสลาม เป็นต้น
ซึ่งข้อกังวลใดๆที่ เกินเลยเกี่ยวกับกฏหมายอิสลาม เกี่ยวกับอภิสิทธิต่างๆนั้นเกินความเป็นจริง
มุสลิมไม่ได้รับการคุ้มครองจากรัฐ หรือไม่ได้รับภาษี มากกว่าปกติ เมื่อใช้กฏหมายอิสลาม
อย่างไรก็ดี
ข้อกังวลกว่า เกี่ยวกับศาสนาอิสลามนั้นคือ การจัดการของผู้เป็นมุสลิมนั้นยังไร้คุณภาพ จำนวนมาก
เราสามารถดูได้จาก ปัญหาที่เกิดขึ้นที่ศาลอิสลามในประเทศสิงค์โปร์ เองที่ได้รับการร้องเรียนในเชิงลบ
เรียกได้ว่าถ้ามีให้คะแนนติดลบ คงจะมีให้แล้ว
ในเรื่อง การบริหารจัดการ และ การบริหารจัดการที่ขาดคุณภาพ ทำให้ ครอบครัวที่พึ่งพาไม่ได้รับความเป็นธรรม
เช่น การตอบข้อความล่าช้า การออกเอกสารล่าช้า การมีอคติต่อเพศหญิงของเจ้าหน้าที่
การให้ข้อมูลไม่ครบถ้วนอื่นๆ
นั่นคือข้อน่ากังวลกว่าเกี่ยวกับการใช้กฏหมายอิสลามในประเทศไทย ไม่ใช่ประเด็น
ที่เข้าใจกันนั่นเอง ดังนั้นเกี่ยวกับกฏหมายอิสลามในประเทศไทยนั้น
อาจจะตต้องไปเริ่มที่มองการพัฒนา หน่วยงานขนาดเล็กท้องถิ่นให้เข้มแข็งและเป็นระบบ
ก่อนจึงค่อยเริ่มพัฒนาองค์กรตัดสินกลางสำหรับชุมชนมุสลิมอีกครั้ง
รวมถึงการให้ความรู้ความเข้าใจกับเพื่อนต่างศาสนา
และช่วยกันก้าวข้ามกำแพงความเกลียดชัง และการสร้างความเข้าใจผิด
ข้ามเรื่องการเมืองศาสนา ทั้งหมดนี้เป็นส่วนสำคัญของการ
สร้างสังคมพหุวัฒนธรรม
Yaoharee Lahtee