กระทู้ จดหมายเปิดผนึกถูกทำให้มองไม่เห็น จึงมาตั้งใหม่ค่ะ
วันที่ 3 มกราคม 2567
เรื่อง ขอความร่วมมือแก้ไขประวัติศาสตร์การศึกษาไทย
เรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
สิ่งที่ส่งมาด้วย จดหมายเปิดผนึกฉบับที่ 1 และ คำตอบของสภาการศึกษา
ประเทศไทยในปี 2538 แรงงานไทยร้อยละ 79.1 มีการศึกษาระดับประถมหรือต่ำกว่า
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล บิดาของข้าพเจ้า ระหว่างปี 2538-2540 ได้ จัดตั้งสถานศึกษาก่อนวัยเรียนเพิ่มจาก 75 เป็น3074 แห่ง โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส 2685 แห่ง สถาบันอาชีวะ278 แห่ง สถาบันราชภัฏ ชัยภูมิ นครพนม ร้อยเอ็ด ศรีษะเกษ กาฬสินธุ์ โรงเรียนสมเด็จพระศรี 12 แห่ง มหิดลวิทยานุสรณ์ โรงเรียนจุฬาภรณ์ 2 แห่ง รวมถึงมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ฯลฯ พร้อมนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี เข้าสู่ระบบการศึกษาไทย รายละเอียดตามเอกสารฉบับแรก
ดร.ดวงทิพย์ สุรินทาธิป เจ้าหน้าที่ประสานงานยูเนสโก ของกระทรวงศึกษาธิการได้ใช้ผลงานการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ในการขอรับรางวัลการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศ และ การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในการศึกษา ให้ดร.วิจิตร ศรีสะอ้าน และ ดร.ประเวศ วะสี ในปี 2540 และ 2541
การบันทึกประวัติศาสตร์แบบบิดเบือน ส่งผลให้คนไทยเข้าใจผิดว่ามีการปฏิรูปการศึกษาต่อเนื่องไม่แล้วเสร็จ และ คำตอบของสภาการศึกษาตามที่ตอบกลับมา ว่ามีกระบวนการในการจัดทำกฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีความซ้ำกับแผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัฒน์2538:เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทย ถึง ร้อยละ 80 และ ร้อยละ 20 ได้แก้ไขเพิ่มเติม เช่น โรงเรียนนิติบุคคลในปี 2545 และ กฎหมายปฐมวัย 2562
การบิดเบือนของประวัติศาสตร์การศึกษาไทยส่งผลให้การศึกษาไทยถอยหลังลงคลองจนกระทั่งปัจจุบัน การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 จบเมื่อยูเนสโก มอบรางวัลการศึกษาเป็นเลิศให้ประเทศไทยระหว่าง ปี 2540-2541
เอกสารของสภาการศึกษาอ้างว่า รางวัลยูเนสโกการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศซึ่งรับไป ธันวาคม ปี 2540 ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ทั้งที่ การพัฒนาการศึกษาจนเป็นเลิศ ระหว่างปี 2538-2540 ของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ไม่เกี่ยวกับสภาการศึกษาและดร.รุ่ง แก้วแดง ซึ่งขัดขวางการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 จนกระทั่งถูกย้ายจาก กรมการศึกษานอกโรงเรียน ไปเป็นเลขาธิการสภาการศึกษา
การลอกผลงานการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 และอ้างว่าเป็นผลงานของสภาการศึกษาในปี 2542 นั่งเทียนในห้องแอร์ (เปรียบเทียบเอกสารค่ะ ข้อความซ้ำตามหลักวิชาการ เรียกลอก) การอภิวัฒน์การศึกษาไทย2538 มีผู้เข้าร่วมถึง 4แสนคน มีร่องรอยทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่นถึงปัจจุบัน
หลังจากได้รับเอกสารตอบจากสภาการศึกษา ข้าพเจ้าไม่แปลกใจที่บิดาของข้าพเจ้า ถูกให้ร้าย หมิ่นประมาท ในวิกิพิเดียและยังดำเนินคดีใครไม่ได้ สภาการศึกษาไม่ยอมรับการละเมิดสิทธิ์ทั้งที่ข้าพเจ้ามีเอกสารหลักฐานชัดเจน ไม่ยอมแก้ไขประวัติศาสตร์การศึกษาไทยให้ถูกต้อง ตามเอกสารแนบ ซึ่งคือที่มาให้การศึกษาไทยตกต่ำอีกครั้ง เช่นเดียวกับยุคก่อนปี2538 เพราะลอกไปร้อยละ80 แต่ตัดหัวใจของการจัดบริการการศึกษาโดยกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น ของกลุ่มคนเห็นต่างและใช้ผลงานของบิดาข้าพเจ้าไปขอรับรางวัลยูเนสโกด้านการศึกษา
จึงเรียนมาเพื่อดำเนินการแก้ไขประวัติศาสตร์การศึกษาไทยตั้งแต่ปี 2538 จนกระทั่งถึงการรับรางวัลยูเนสโกด้านการศึกษา 3รางวัล ระหว่างปี 2540-2541 ให้ถูกต้องค่ะ
ลูกสาว คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล
พันโทหญิงฐิฏา รังสิตพล มานิตกุล
ล
ผลงานด้านการศึกษา ของนักการเมือง แต่ถูกปล้นรางวัล UNESCO ด้านการบริหารการศึกษา ในปี 2540-2541
วันที่ 3 มกราคม 2567
เรื่อง ขอความร่วมมือแก้ไขประวัติศาสตร์การศึกษาไทย
เรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
สิ่งที่ส่งมาด้วย จดหมายเปิดผนึกฉบับที่ 1 และ คำตอบของสภาการศึกษา
ประเทศไทยในปี 2538 แรงงานไทยร้อยละ 79.1 มีการศึกษาระดับประถมหรือต่ำกว่า
คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล บิดาของข้าพเจ้า ระหว่างปี 2538-2540 ได้ จัดตั้งสถานศึกษาก่อนวัยเรียนเพิ่มจาก 75 เป็น3074 แห่ง โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส 2685 แห่ง สถาบันอาชีวะ278 แห่ง สถาบันราชภัฏ ชัยภูมิ นครพนม ร้อยเอ็ด ศรีษะเกษ กาฬสินธุ์ โรงเรียนสมเด็จพระศรี 12 แห่ง มหิดลวิทยานุสรณ์ โรงเรียนจุฬาภรณ์ 2 แห่ง รวมถึงมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ฯลฯ พร้อมนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี เข้าสู่ระบบการศึกษาไทย รายละเอียดตามเอกสารฉบับแรก
ดร.ดวงทิพย์ สุรินทาธิป เจ้าหน้าที่ประสานงานยูเนสโก ของกระทรวงศึกษาธิการได้ใช้ผลงานการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 ในการขอรับรางวัลการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศ และ การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในการศึกษา ให้ดร.วิจิตร ศรีสะอ้าน และ ดร.ประเวศ วะสี ในปี 2540 และ 2541
การบันทึกประวัติศาสตร์แบบบิดเบือน ส่งผลให้คนไทยเข้าใจผิดว่ามีการปฏิรูปการศึกษาต่อเนื่องไม่แล้วเสร็จ และ คำตอบของสภาการศึกษาตามที่ตอบกลับมา ว่ามีกระบวนการในการจัดทำกฎหมายลูกประกอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีความซ้ำกับแผนแม่บทนโยบายปฏิรูปการศึกษายุคโลกาภิวัฒน์2538:เพื่อเตรียมพร้อมพลเมืองไทย ถึง ร้อยละ 80 และ ร้อยละ 20 ได้แก้ไขเพิ่มเติม เช่น โรงเรียนนิติบุคคลในปี 2545 และ กฎหมายปฐมวัย 2562
การบิดเบือนของประวัติศาสตร์การศึกษาไทยส่งผลให้การศึกษาไทยถอยหลังลงคลองจนกระทั่งปัจจุบัน การอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 จบเมื่อยูเนสโก มอบรางวัลการศึกษาเป็นเลิศให้ประเทศไทยระหว่าง ปี 2540-2541
เอกสารของสภาการศึกษาอ้างว่า รางวัลยูเนสโกการจัดบริการการศึกษาเป็นเลิศซึ่งรับไป ธันวาคม ปี 2540 ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ทั้งที่ การพัฒนาการศึกษาจนเป็นเลิศ ระหว่างปี 2538-2540 ของคุณพ่อสุขวิช รังสิตพล ไม่เกี่ยวกับสภาการศึกษาและดร.รุ่ง แก้วแดง ซึ่งขัดขวางการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 จนกระทั่งถูกย้ายจาก กรมการศึกษานอกโรงเรียน ไปเป็นเลขาธิการสภาการศึกษา
การลอกผลงานการอภิวัฒน์การศึกษาไทย 2538 และอ้างว่าเป็นผลงานของสภาการศึกษาในปี 2542 นั่งเทียนในห้องแอร์ (เปรียบเทียบเอกสารค่ะ ข้อความซ้ำตามหลักวิชาการ เรียกลอก) การอภิวัฒน์การศึกษาไทย2538 มีผู้เข้าร่วมถึง 4แสนคน มีร่องรอยทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่นถึงปัจจุบัน
หลังจากได้รับเอกสารตอบจากสภาการศึกษา ข้าพเจ้าไม่แปลกใจที่บิดาของข้าพเจ้า ถูกให้ร้าย หมิ่นประมาท ในวิกิพิเดียและยังดำเนินคดีใครไม่ได้ สภาการศึกษาไม่ยอมรับการละเมิดสิทธิ์ทั้งที่ข้าพเจ้ามีเอกสารหลักฐานชัดเจน ไม่ยอมแก้ไขประวัติศาสตร์การศึกษาไทยให้ถูกต้อง ตามเอกสารแนบ ซึ่งคือที่มาให้การศึกษาไทยตกต่ำอีกครั้ง เช่นเดียวกับยุคก่อนปี2538 เพราะลอกไปร้อยละ80 แต่ตัดหัวใจของการจัดบริการการศึกษาโดยกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น ของกลุ่มคนเห็นต่างและใช้ผลงานของบิดาข้าพเจ้าไปขอรับรางวัลยูเนสโกด้านการศึกษา
จึงเรียนมาเพื่อดำเนินการแก้ไขประวัติศาสตร์การศึกษาไทยตั้งแต่ปี 2538 จนกระทั่งถึงการรับรางวัลยูเนสโกด้านการศึกษา 3รางวัล ระหว่างปี 2540-2541 ให้ถูกต้องค่ะ
ลูกสาว คุณพ่อสุขวิช รังสิตพล
พันโทหญิงฐิฏา รังสิตพล มานิตกุล
ล