สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 7
หัวจ่ายน้ำมันก็เหมือนอุปกรณ์ต่างๆที่เป็นเครื่องจักร จะมี margin of error เช่นนาฬิกาข้อมือที่จะมีเวลาผิดไปวันละ 0.03วินาที ใน1ปีนาฬิกาจะเคลื่อนที่ 10 วินาที หรือ ที่วัดความเร็ว ที่เป่าแอลกอฮอร์ เครื่องชั่ง ตราชั่ง ต่างมี margin of error จากการใช้งานเป็นเรื่องปกติครับ ดังนั้นหัวจ่ายน้ำมันที่จ่ายทุกวัน จะเริ่มมีค่าความต่าง ที่เป็นไปได้ทั้งจ่ายน้อยลง หรือ จ่ายเกิน ตามหลักการ margin of error ที่เกิดขึ้นจะอยู่ที่ 0.1-0.5 ต่อปี ดังนั้นการแก้ไขคือ ปั๊มน้ำมันที่ได้มาตรฐานจะต้องทำการ Calibration คุณภาพหัวจ่ายตามที่กำหนดระยะเวลา เช่นทุก 6 เดือน หรือ ทุกปี เพื่อให้ค่ากลางกลับไปอยู่ที่ๆเหมาะสม
กรณีที่เป็นข่าว ไม่ควรโทษบริษัทขนาดใหญ่ แต่ต้องเข้าตรวจสอบ ปั๊มน้ำมันทุกยี่ห้อ ว่าทำการ Calibration (สอบเทียบเครื่องมือ) เป็นไปตามที่กฏหมายกำหนด และ เป็นไปตามมาตรฐานเครื่องมือที่กำหนดหรือไม่ ถ้าไม่ อันนี้ทางปั๊มต้องรับผิดชอบด้วยการเร่ง Calibration ไม่ว่าจะเป็นปั๊มที่จ่ายเกินหรือจ่ายขาด อย่าคิดว่าจ่ายเกินลูกค้ากำไร เพราะถ้าจ่ายเกิน แปลว่า เครื่องเริ่มทำการผิดค่ากลาง ซึ่งการผิดค่ากลางถ้าจำไม่ผิดจะอยู่ที่ 0.5 ตามเกณฑ์ที่กำหนด แต่ปั๊มโดยมากที่ทำตามมาตรฐานมักจะ +/1 ที่ 0.1 ดังนั้น ถ้าการจ่ายเกินหรือจ่ายขาด ต้องเข้าใจก่อนว่า หากไม่เกินที่กฏหมายกำหนด แปลว่า ยังเป็นเกณฑ์ที่อยู่ในกรอบ Calibration ที่รับได้ แต่หากเกินมากอย่างมีนัยยะสำคัฯญ ตรงนี้ต้องเข้าตรวจสอบเฉพาะปั๊มน้ำมันเป็นรายกรณีไป หากเป็นความผิดพลาดด้าน มาตรวัด อันนี้ก็ต้องไปซ่อมแซมแก้ไข แต่ถ้าจงใจโกงมาตรวัด ค่อยดำเนินคดีเป็นรายไป
กรณีที่เป็นข่าว ไม่ควรโทษบริษัทขนาดใหญ่ แต่ต้องเข้าตรวจสอบ ปั๊มน้ำมันทุกยี่ห้อ ว่าทำการ Calibration (สอบเทียบเครื่องมือ) เป็นไปตามที่กฏหมายกำหนด และ เป็นไปตามมาตรฐานเครื่องมือที่กำหนดหรือไม่ ถ้าไม่ อันนี้ทางปั๊มต้องรับผิดชอบด้วยการเร่ง Calibration ไม่ว่าจะเป็นปั๊มที่จ่ายเกินหรือจ่ายขาด อย่าคิดว่าจ่ายเกินลูกค้ากำไร เพราะถ้าจ่ายเกิน แปลว่า เครื่องเริ่มทำการผิดค่ากลาง ซึ่งการผิดค่ากลางถ้าจำไม่ผิดจะอยู่ที่ 0.5 ตามเกณฑ์ที่กำหนด แต่ปั๊มโดยมากที่ทำตามมาตรฐานมักจะ +/1 ที่ 0.1 ดังนั้น ถ้าการจ่ายเกินหรือจ่ายขาด ต้องเข้าใจก่อนว่า หากไม่เกินที่กฏหมายกำหนด แปลว่า ยังเป็นเกณฑ์ที่อยู่ในกรอบ Calibration ที่รับได้ แต่หากเกินมากอย่างมีนัยยะสำคัฯญ ตรงนี้ต้องเข้าตรวจสอบเฉพาะปั๊มน้ำมันเป็นรายกรณีไป หากเป็นความผิดพลาดด้าน มาตรวัด อันนี้ก็ต้องไปซ่อมแซมแก้ไข แต่ถ้าจงใจโกงมาตรวัด ค่อยดำเนินคดีเป็นรายไป
ความคิดเห็นที่ 13
สินค้าที่คุณซื้อและใช้อยู่ทุกอย่างมันมีน้ำหนักไม่ตรงค่าบรรจุอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นอาหาร สินค้าอุปโภคทุกชนิด เพราะ เครื่องมือชั่งตวงวัดในโลกใบนี้ มันมีค่า error เสมอ ไม่เชื่อ จขกท. ลองเอาสินค้าในบ้านไปชั่งดูก็ได้ครับ
ทีนี้ดราม่ามันเกิดก็เพราะคนในประเทศนี้ขาดความรู้ความเข้าใจ และคิดอย่างเดียวว่า สินค้าที่ซื้อมาต้องเกินเสมอ ซึ่งมันไม่ใช่ครับเพราะ กม. ที่ออกมา เขาว่ากันตามความเป็นจริงบนโลกใบนี้ และเพื่อไม่ให้มีใครได้เปรียบเสียเปรียบ เพราะ น้ำหนักมันมีค่าบวกลบได้ โดยต้องไม่เกินค่าที่ยอมรับได้ แต่ค่าเฉลี่ยโดยรวมต้องไม่ต่ำกว่าค่ากลางครับ ในขณะที่ผู้บริโภคสนใจแค่ฝั่งคนซื้อครับ คือประมาณว่าจะเอาแต่ได้ ประมาณนั่นแหละ ทั้ง ๆ ที่ในความเป็นจริง บางครั้งก็ได้เกิน บางครั้งก็ได้ขาด บางครั้งก็ได้พอดี เฉลี่ยทั้งชีวิตที่ได้มาตามหลักสถิติ มันไม่ได้ขาดทุนหรอก เว้นเสียแต่ผู้ค้าเจตนาโกงจริง ๆ เท่านั้น
ทีนี้ถามว่าถ้าเขียน กม. ให้ค่าบรรจุไม่ต่ำกว่าค่ากลางได้ไหม ตอบได้ง่าย ๆ เลยครับว่าทำได้ครับ ไปแก้ กม. ซะ บริษัททุกที่ก็ต้องทำตาม กม. และแน่นอน กม.แบบนี้มันส่งผลกระทบกับบริษัท และหลังจากนั้นมันก็ทำให้ต้นทุนสินค้าเพิ่มขึ้นเพราะ บริษัทต้องบรรจุให้มากขึ้นเพื่อไม่ให้ต่ำกว่าค่ากลาง และมันแน่นอนว่าเมื่อต้นทุนเพิ่มขึ้น สุดท้ายทุกบริษัทก็จะตั้งเพิ่มราคาขายไปชดเชย แค่นั้นเอง ไม่มีอะไรซับซ้อน สุดท้าย ปชช. ไม่มีได้ครับ ทุกอย่างมันปรับสมดุลย์ของมัน
ดังนั้นควรงดดราม่า เข้าใจโลกให้มากขึ้น แล้วจิตใจจึงจะเป็นสุขครับ
อยู่บนโลกนี้อย่าเอาแต่ได้ครับ เอาที่พอดี แล้วไม่มีใครมาโกงก็พอแล้ว
ทีนี้ดราม่ามันเกิดก็เพราะคนในประเทศนี้ขาดความรู้ความเข้าใจ และคิดอย่างเดียวว่า สินค้าที่ซื้อมาต้องเกินเสมอ ซึ่งมันไม่ใช่ครับเพราะ กม. ที่ออกมา เขาว่ากันตามความเป็นจริงบนโลกใบนี้ และเพื่อไม่ให้มีใครได้เปรียบเสียเปรียบ เพราะ น้ำหนักมันมีค่าบวกลบได้ โดยต้องไม่เกินค่าที่ยอมรับได้ แต่ค่าเฉลี่ยโดยรวมต้องไม่ต่ำกว่าค่ากลางครับ ในขณะที่ผู้บริโภคสนใจแค่ฝั่งคนซื้อครับ คือประมาณว่าจะเอาแต่ได้ ประมาณนั่นแหละ ทั้ง ๆ ที่ในความเป็นจริง บางครั้งก็ได้เกิน บางครั้งก็ได้ขาด บางครั้งก็ได้พอดี เฉลี่ยทั้งชีวิตที่ได้มาตามหลักสถิติ มันไม่ได้ขาดทุนหรอก เว้นเสียแต่ผู้ค้าเจตนาโกงจริง ๆ เท่านั้น
ทีนี้ถามว่าถ้าเขียน กม. ให้ค่าบรรจุไม่ต่ำกว่าค่ากลางได้ไหม ตอบได้ง่าย ๆ เลยครับว่าทำได้ครับ ไปแก้ กม. ซะ บริษัททุกที่ก็ต้องทำตาม กม. และแน่นอน กม.แบบนี้มันส่งผลกระทบกับบริษัท และหลังจากนั้นมันก็ทำให้ต้นทุนสินค้าเพิ่มขึ้นเพราะ บริษัทต้องบรรจุให้มากขึ้นเพื่อไม่ให้ต่ำกว่าค่ากลาง และมันแน่นอนว่าเมื่อต้นทุนเพิ่มขึ้น สุดท้ายทุกบริษัทก็จะตั้งเพิ่มราคาขายไปชดเชย แค่นั้นเอง ไม่มีอะไรซับซ้อน สุดท้าย ปชช. ไม่มีได้ครับ ทุกอย่างมันปรับสมดุลย์ของมัน
ดังนั้นควรงดดราม่า เข้าใจโลกให้มากขึ้น แล้วจิตใจจึงจะเป็นสุขครับ
อยู่บนโลกนี้อย่าเอาแต่ได้ครับ เอาที่พอดี แล้วไม่มีใครมาโกงก็พอแล้ว
ความคิดเห็นที่ 26
คนทั่วๆไป มักคิดว่าการวัดค่าอ่านผล การชั่งวัดตวงให้ตรงตามปริมาณที่ต้องการนั้นง่าย
อาจจะด้วยความไม่รู้ แต่ในทางวิทยาศาตร์ วิศวกรรม การวัดค่าและอ่านผลเป็นเรื่องยาก
ถึงขนาดมีศาสตร์มีสาขาเรื่องการวัดกันเลยทีเดียว
ผมต่อให้คุณใช้เครื่องมือชั่งวัดตวงชิ้นเดิม ชั่งวัดตวงมวลสารก้อนเดิม
หากไม่มีการคะเนหรือปัดเศษผลการอ่านใดๆ จะไม่มีการวัดค่าและอ่านผลครั้งไหนเลย ที่จะซ้ำกันเลยซักครั้ง
แบบนี้แล้วเรื่องการตวงให้ได้ปริมาณเป๊ะๆ ตามที่ต้องการ เช่นต้องการน้ำมัน 5.000... ลิตร ในโลกความเป็นจริง จึงเป็นไปไม่ได้เลย
เพราะคุณไม่รู้ว่าเครื่องมือไหน และการชั่งวัดตวงแม่นยำกว่ากัน?
เมื่อไม่ทราบความแม่นยำ คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าในคลิปนั้นหัวจ่ายเติมขาดหรือเกิน?
เครื่องตวงในคลิปของลูกค้าอาจจะเป็น negative bias ก็ได้ ตวง 2 ครั้งถึงหย่อน 2 ครั้ง
หรืออาจจะเป็น negative error จากเครื่อง flow meter ทั้ง 2 ครั้งเลยก็ได้
หรือลูกค้าในคลิปอาจจะไม่มีความชำนาญในเครื่องมือ และอ่านค่า error ทั้ง 2 ครั้งเลยก็ได้
หากคุณสวมหมวกคนกลาง ไม่ใช่หมวกผู้บริโภค คุณจะเลือกเชื่อมั่นในการวัดเครื่องมือชิ้นไหนมากกว่าชิ้นไหน ด้วยเหตุผลอะไร?

เพราะปัญหาความไม่แม่นยำและไม่เที่ยงตรงของการวัดเหล่านี้ ในทางวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรรม และแม้แต่กฎหมาย
จึงมักกำหนดค่าความคลาดเคลื่อนในการวัดของเครื่อง และกำหนดค่า bias ของเครื่องมือขึ้นมา
และเครื่องมือทุกชิ้นบนโลกที่ใช้ชั่งตวงวัดการซื้อขายหรือใช้ในงานที่มีความแม่นยำ หรือเที่ยงตรงสูง
จึงต้องถูกสอบเทียบเครื่องมือเสมอ ถึงจะเชื่อได้ว่า เครื่องมือวัดมีค่าความคลาดเคลื่อนและ bias อยู่ในเกณฑ์ ที่ยอมรับได้
และเมื่อใช้เครื่องมือที่ได้รับการสอบทานแล้ว นั่นก็ถือเป็นอันยุติแล้ว
อาจจะด้วยความไม่รู้ แต่ในทางวิทยาศาตร์ วิศวกรรม การวัดค่าและอ่านผลเป็นเรื่องยาก
ถึงขนาดมีศาสตร์มีสาขาเรื่องการวัดกันเลยทีเดียว
ผมต่อให้คุณใช้เครื่องมือชั่งวัดตวงชิ้นเดิม ชั่งวัดตวงมวลสารก้อนเดิม
หากไม่มีการคะเนหรือปัดเศษผลการอ่านใดๆ จะไม่มีการวัดค่าและอ่านผลครั้งไหนเลย ที่จะซ้ำกันเลยซักครั้ง
แบบนี้แล้วเรื่องการตวงให้ได้ปริมาณเป๊ะๆ ตามที่ต้องการ เช่นต้องการน้ำมัน 5.000... ลิตร ในโลกความเป็นจริง จึงเป็นไปไม่ได้เลย
เพราะคุณไม่รู้ว่าเครื่องมือไหน และการชั่งวัดตวงแม่นยำกว่ากัน?
เมื่อไม่ทราบความแม่นยำ คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าในคลิปนั้นหัวจ่ายเติมขาดหรือเกิน?
เครื่องตวงในคลิปของลูกค้าอาจจะเป็น negative bias ก็ได้ ตวง 2 ครั้งถึงหย่อน 2 ครั้ง
หรืออาจจะเป็น negative error จากเครื่อง flow meter ทั้ง 2 ครั้งเลยก็ได้
หรือลูกค้าในคลิปอาจจะไม่มีความชำนาญในเครื่องมือ และอ่านค่า error ทั้ง 2 ครั้งเลยก็ได้
หากคุณสวมหมวกคนกลาง ไม่ใช่หมวกผู้บริโภค คุณจะเลือกเชื่อมั่นในการวัดเครื่องมือชิ้นไหนมากกว่าชิ้นไหน ด้วยเหตุผลอะไร?

เพราะปัญหาความไม่แม่นยำและไม่เที่ยงตรงของการวัดเหล่านี้ ในทางวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรรม และแม้แต่กฎหมาย
จึงมักกำหนดค่าความคลาดเคลื่อนในการวัดของเครื่อง และกำหนดค่า bias ของเครื่องมือขึ้นมา
และเครื่องมือทุกชิ้นบนโลกที่ใช้ชั่งตวงวัดการซื้อขายหรือใช้ในงานที่มีความแม่นยำ หรือเที่ยงตรงสูง
จึงต้องถูกสอบเทียบเครื่องมือเสมอ ถึงจะเชื่อได้ว่า เครื่องมือวัดมีค่าความคลาดเคลื่อนและ bias อยู่ในเกณฑ์ ที่ยอมรับได้
และเมื่อใช้เครื่องมือที่ได้รับการสอบทานแล้ว นั่นก็ถือเป็นอันยุติแล้ว
แสดงความคิดเห็น
ทําไม่เติมนํ้ามันในปั๊มยักษใหญ่ถึงได้ไม่เต็มลิตร บอกขาดนิดหน่อย แต่ถูกกฎหมาย
ปั๊มอื่นเป็นกันบ้างมัย รบกวนกรูรูด้วยครับ