อันนี้คือเรื่องที่สงสัยมานานอย่างรปภ.หญิงทำไมตรวจค้นผู้ชายได้ในทางกลับกันทำไมผู้ชายไม่สามารถตรวจค้นผู้หญิงได้ เเละต่อมาที่เราจะพูดก็คือหัวข้อด้านบนเลยนั้นคือถ้าลูกสาวเปลี่ยนผ้าอ้อมให้พ่อที่ป่วยติดเตียงได้ เเล้วลูกชายจะเปลี่ยนผ้าอ้อมให้กับเเม่ที่ป่วยติดเตียงได้หรือเปล่า
หากเป็นลูกคนเดียวในครอบครัว
ขอคำตอบที่เป็นธรรมชาตินะครับ
เพราะกรณีนี้จะเห็นความเเตกต่างได้ชัดเจนเมื่อเทียบกับสัตว์สังคมที่มีความคล้ายกับมนุษย์อย่างลิง
ทำไมลิงตัวเมียเวลาเจอตัวผู้เเบบจะๆทำไมลิงตัวเมียไม่อายทั้งๆที่ไม่ได้สวมเสื้อผ้า
ทำไมผู้หญิงถึงอายเวลาผู้ชายเปลี่ยนผ้าอ้อมให้เรื่องนี้มีอยู่จริงเเละมีเรื่องของgender stereotypesไม่ใช่น้อย
ถ้าหากใครตอบว่าผู้ชายเปลี่ยนผ้าอ้อมให้กับผู้หญิงซึ่งเป็นเเม่ของตัวเองไม่ได้ให้จ้างผู้หญิงมาเปลี่ยนให้ในขณะที่ผู้หญิงเองเปลี่ยนผ้าอ้อมให้กับผู้ชายผู้เป็นพ่อของเขาได้เเบบโจ่งเครื่อง นั้นถือว่าเป็นความไม่เป็นธรรม เเละอาจจะกระตุกความเหลื่อมลํ้าในค่าใช้จ่ายได้
ดังนั้นสิ่งที่ทำให้คนเราถูกกีดกันในสิ่งเดียวกันนั้นคือค่านิยม จารีตประเพณีที่กดทับทางเพศสภาพมาอย่างยาวนาน
ดังนั้นคงถึงเวลาที่สังคมต้องปรับทัศนคติทางเพศใหม่ว่าผู้ชายก็สามารถเปลี่ยนผ้าอ้อมให้กับผู้เป็นเเม่ได้ไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นหญิงเปลี่ยนให้เสมอไป
ทำไมสังคมมีทัศนคติว่าผู้ชายไม่ควรเป็นหมอสูตินารีตรวจร่างกายผู้หญิง ในขณะที่ผู้หญิงเป็นหมอตรวจทางเดินปัสสาวะได้นี้สิเเปลก ดังนั้นต้องปรับทัศนคติเรื่องนี้ด้วยว่าผู้ชายเป็นหมอสูติตรวจหญิงได้ ซึ่งสิ่งที่ควรเปลี่ยนคือผู้หญิงนั้นเเหละที่ต้องเปลี่ยนmindsetเเละยอมรับผู้ชายในบทบาทสูตินารี
UN Womenได้กล่าวว่าการที่สังคมระบุว่าอาชีพสูตินารีคือเรื่องของผู้หญิงเท่านั้นถือเป็นgender stereotypesดังนั้นกระทรวงพัฒนาสังคม ภาครัฐทุกส่วนก็ต้องมาคิดว่าคุณกำลังมุ่งไปอีกขั้นในด้านความเสมอภาคระหว่างเพศหรือยึดติดกับstereotypes ซึ่งไม่ได้นำมาซึ่งความเสมอภาคระหว่างเพศ
ลูกสาวเปลี่ยนผ้าอ้อมให้พ่อที่ป่วยติดเตียงได้ เเต่ลูกชายเปลี่ยนผ้าอ้อมให้กับเเม่ที่ป่วยติดเตียงได้หรือเปล่า?
หากเป็นลูกคนเดียวในครอบครัว
ขอคำตอบที่เป็นธรรมชาตินะครับ
เพราะกรณีนี้จะเห็นความเเตกต่างได้ชัดเจนเมื่อเทียบกับสัตว์สังคมที่มีความคล้ายกับมนุษย์อย่างลิง
ทำไมลิงตัวเมียเวลาเจอตัวผู้เเบบจะๆทำไมลิงตัวเมียไม่อายทั้งๆที่ไม่ได้สวมเสื้อผ้า
ทำไมผู้หญิงถึงอายเวลาผู้ชายเปลี่ยนผ้าอ้อมให้เรื่องนี้มีอยู่จริงเเละมีเรื่องของgender stereotypesไม่ใช่น้อย
ถ้าหากใครตอบว่าผู้ชายเปลี่ยนผ้าอ้อมให้กับผู้หญิงซึ่งเป็นเเม่ของตัวเองไม่ได้ให้จ้างผู้หญิงมาเปลี่ยนให้ในขณะที่ผู้หญิงเองเปลี่ยนผ้าอ้อมให้กับผู้ชายผู้เป็นพ่อของเขาได้เเบบโจ่งเครื่อง นั้นถือว่าเป็นความไม่เป็นธรรม เเละอาจจะกระตุกความเหลื่อมลํ้าในค่าใช้จ่ายได้
ดังนั้นสิ่งที่ทำให้คนเราถูกกีดกันในสิ่งเดียวกันนั้นคือค่านิยม จารีตประเพณีที่กดทับทางเพศสภาพมาอย่างยาวนาน
ดังนั้นคงถึงเวลาที่สังคมต้องปรับทัศนคติทางเพศใหม่ว่าผู้ชายก็สามารถเปลี่ยนผ้าอ้อมให้กับผู้เป็นเเม่ได้ไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นหญิงเปลี่ยนให้เสมอไป
ทำไมสังคมมีทัศนคติว่าผู้ชายไม่ควรเป็นหมอสูตินารีตรวจร่างกายผู้หญิง ในขณะที่ผู้หญิงเป็นหมอตรวจทางเดินปัสสาวะได้นี้สิเเปลก ดังนั้นต้องปรับทัศนคติเรื่องนี้ด้วยว่าผู้ชายเป็นหมอสูติตรวจหญิงได้ ซึ่งสิ่งที่ควรเปลี่ยนคือผู้หญิงนั้นเเหละที่ต้องเปลี่ยนmindsetเเละยอมรับผู้ชายในบทบาทสูตินารี
UN Womenได้กล่าวว่าการที่สังคมระบุว่าอาชีพสูตินารีคือเรื่องของผู้หญิงเท่านั้นถือเป็นgender stereotypesดังนั้นกระทรวงพัฒนาสังคม ภาครัฐทุกส่วนก็ต้องมาคิดว่าคุณกำลังมุ่งไปอีกขั้นในด้านความเสมอภาคระหว่างเพศหรือยึดติดกับstereotypes ซึ่งไม่ได้นำมาซึ่งความเสมอภาคระหว่างเพศ