สลับตำแหน่ง โท เอก ตรง บรรทัดที่ 2 หรือ 4 ละครับ
จะผิดหรือถูก
*** สลับตำแหน่ง โท เอก ตรง บรรทัดที่ 2
ไม่เคยเห็นใคร สลับในบาท ๒ เลยครับ
* สลับตำแหน่ง โท เอก ตรง บรรทัดที่ 4
@ ใคร ใช่ญาติจากแคว้น......แดนไกล
ใคร ชุบจิตแจ่มใส................เมื่อเศร้า
ใคร ให้แห่งพักใจ................ยามตก...ต่ำเฮย
ใคร ร่างเหลือเพียงเถ้า..........เฝ้าร่ำอวยพร
** เคยอ่านพบใน "มติชน สุดสัปดาห์"
(ลืมจดฉบับที่ มาครับ)
มีผู้เสนอให้เรียก การสลับตำแหน่ง เอกโท วรรคท้ายสุด
เป็น โทเอก (เฝ้าร่ำ)
ให้ชื่อว่า "โคลงสี่โสภา"
ผู้เขียนได้อธิบายเหตุผล(ยาว ๆ ฟังดูดี)ว่า
น่าถือเป็นโคลงอีกแบบหนึ่งได้
พบอีก ใน "มติชน สุดสัปดาห์" ๘-๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๕
ฉบับที่ ๑๖๖๐ หน้า ๖
ขอชี้แจงเพิ่มเติม :-
*** ร้อยกรอง เริ่มต้นจาก การฟังไพเราะ เป็นสำคัญ
การขับทำนองเสนาะ จึงเป็นที่มาในการวาง กฎเกณฑ์
การกำหนด ตำแหน่งส่ง-รับสัมผัส และ
ตำแหน่งเอกเจ็ดโทสี่
แต่ความเข้มงวด เกณฑ์ซับซ้อน
เพิ่งมีในระยะหลัง ที่เริ่มมีการจัดประลองแข่งขันกัน
แนะนำโคลงสี่สุภาพ ๗
จะผิดหรือถูก
*** สลับตำแหน่ง โท เอก ตรง บรรทัดที่ 2
ไม่เคยเห็นใคร สลับในบาท ๒ เลยครับ
* สลับตำแหน่ง โท เอก ตรง บรรทัดที่ 4
@ ใคร ใช่ญาติจากแคว้น......แดนไกล
ใคร ชุบจิตแจ่มใส................เมื่อเศร้า
ใคร ให้แห่งพักใจ................ยามตก...ต่ำเฮย
ใคร ร่างเหลือเพียงเถ้า..........เฝ้าร่ำอวยพร
** เคยอ่านพบใน "มติชน สุดสัปดาห์"
(ลืมจดฉบับที่ มาครับ)
มีผู้เสนอให้เรียก การสลับตำแหน่ง เอกโท วรรคท้ายสุด
เป็น โทเอก (เฝ้าร่ำ)
ให้ชื่อว่า "โคลงสี่โสภา"
ผู้เขียนได้อธิบายเหตุผล(ยาว ๆ ฟังดูดี)ว่า
น่าถือเป็นโคลงอีกแบบหนึ่งได้
พบอีก ใน "มติชน สุดสัปดาห์" ๘-๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๕
ฉบับที่ ๑๖๖๐ หน้า ๖
ขอชี้แจงเพิ่มเติม :-
*** ร้อยกรอง เริ่มต้นจาก การฟังไพเราะ เป็นสำคัญ
การขับทำนองเสนาะ จึงเป็นที่มาในการวาง กฎเกณฑ์
การกำหนด ตำแหน่งส่ง-รับสัมผัส และ
ตำแหน่งเอกเจ็ดโทสี่
แต่ความเข้มงวด เกณฑ์ซับซ้อน
เพิ่งมีในระยะหลัง ที่เริ่มมีการจัดประลองแข่งขันกัน