ตามคลิป ขอถามเป็นข้อๆ
1. การเช็คแบบนี้ใช้ได้ สำหรับบ้านที่เมนเบรคเกอร์เป็นแบบธรรมดา ถ้าเป็นแบบกันดูดมันไม่น่าจะเช็คได้ใช่ไหมครับ เพราะว่าเบรคเกอร์กันดูดจะตัดการทำงานก่อน
2. ถ้าเราต่อสายดินตามมาตรฐานใหม่ของการไฟฟ้า คือ เอาสาย N ที่มาจากหม้อการไฟฟ้ามาเข้า บาร์G ก่อนแล้วจึงเอาสายจากบาร์ G มาเข้าขั้ว N ของเมนเบรคเกอร์ ถ้าเป็นมาตรฐานใหม่ สาย N กับสาย G มันจะต่อกันก่อนเข้าเมนเบรคเกอร์ นั่นคือมันคือเส้นเดียวกัน ถ้าเราต่อหลักดินถูกต้อง ไฟต้องสว่าง
3. ถ้าบ้านเราต่อหลักดินด้วยมาตรฐานเก่าคือ หลักดิน G ไม่ได้ต่อกับ N ก่อนเข้าเมนเบรคเกอร์ ง่ายๆคือ N กับ G หลักดินไม่ได้ต่อกันก่อนเข้าเมนเบรคเกอร์ ถ้าทำตามคลิป หลอดไฟจะติดไหมครับ หรือติดแต่สว่างน้อย เพราะว่ายังไงก็ตาม สาย N ของการไฟฟ้าก็ต่อลงดินที่เสาไฟฟ้าใกล้บ้านอยู่แล้ว ยังไงไฟมันก็วิ่งลงหลักดินไปที่ N การไฟฟ้าอยู่ดี แต่น่าจะมีความต้านทานที่ดินทำให้ไฟสว่างน้อย ถูกไหมครับ
4. ถ้าตามนี้ สมมุติว่าหลักดินตอกไม่ลึกเท่าที่การไฟฟ้าตั้งกฎไว้ เช่นหลักดิน ยาวแค่ 1 เมตร ไฟยังจะติดไหมถ้าทำตามคลิป
5. สมมุติว่าหลักดินตามมาตรฐานการไฟฟ้าเปํะ หลักดินหรือระบบหลักดิน (Grounding Electode)แท่งทองแดง ขนาด 5/8 นิ้ว (16 มม.)ยาว 8 ฟุต (2.40 เมตร) แผ่นโลหะที่มีพื้นที่สัมผัสไม่น้อยกว่า 1,800 ตร.ซม.หนาไม่น้อย กว่า 1.5 มม.ต้องฝังลึกจากผิวดินไม่น้อยกว่า 160 ซม.
และเมื่อใช้ไปนานๆ 10-20 ปี ถ้าหลักดินเสื่อม ผุกร่อน หรือ ขั้วต่อขาด จะเกิดอันตรายไหม
6. การต่อหลักดิน ตามมาตรฐานการไฟฟ้าแบบใหม่ ให้เอา L ต่อกับ G ก่อนเข้าเมนเบรคเกอร์ กับ การต่อหลักดินตามมาตรฐานเก่า แยก N กับ G ไม่ได้ต่อกัน แบบไหนปลอดภัยกว่ากัน และแบบไหน นิยมใช้กันในโลกนี้มากกว่ากันครับ พอมี web ค้นหาเกี่ยวกับ มาตรฐานการต่อหลักดิน ของประเทศต่างๆในโลกไหมครับ
ขอบคุณครับ
คลิปนี้เขาใช้วิธีนี้เช็คสายดินนี่มันใช้ได้จริงหรือครับ
ตามคลิป ขอถามเป็นข้อๆ
1. การเช็คแบบนี้ใช้ได้ สำหรับบ้านที่เมนเบรคเกอร์เป็นแบบธรรมดา ถ้าเป็นแบบกันดูดมันไม่น่าจะเช็คได้ใช่ไหมครับ เพราะว่าเบรคเกอร์กันดูดจะตัดการทำงานก่อน
2. ถ้าเราต่อสายดินตามมาตรฐานใหม่ของการไฟฟ้า คือ เอาสาย N ที่มาจากหม้อการไฟฟ้ามาเข้า บาร์G ก่อนแล้วจึงเอาสายจากบาร์ G มาเข้าขั้ว N ของเมนเบรคเกอร์ ถ้าเป็นมาตรฐานใหม่ สาย N กับสาย G มันจะต่อกันก่อนเข้าเมนเบรคเกอร์ นั่นคือมันคือเส้นเดียวกัน ถ้าเราต่อหลักดินถูกต้อง ไฟต้องสว่าง
3. ถ้าบ้านเราต่อหลักดินด้วยมาตรฐานเก่าคือ หลักดิน G ไม่ได้ต่อกับ N ก่อนเข้าเมนเบรคเกอร์ ง่ายๆคือ N กับ G หลักดินไม่ได้ต่อกันก่อนเข้าเมนเบรคเกอร์ ถ้าทำตามคลิป หลอดไฟจะติดไหมครับ หรือติดแต่สว่างน้อย เพราะว่ายังไงก็ตาม สาย N ของการไฟฟ้าก็ต่อลงดินที่เสาไฟฟ้าใกล้บ้านอยู่แล้ว ยังไงไฟมันก็วิ่งลงหลักดินไปที่ N การไฟฟ้าอยู่ดี แต่น่าจะมีความต้านทานที่ดินทำให้ไฟสว่างน้อย ถูกไหมครับ
4. ถ้าตามนี้ สมมุติว่าหลักดินตอกไม่ลึกเท่าที่การไฟฟ้าตั้งกฎไว้ เช่นหลักดิน ยาวแค่ 1 เมตร ไฟยังจะติดไหมถ้าทำตามคลิป
5. สมมุติว่าหลักดินตามมาตรฐานการไฟฟ้าเปํะ หลักดินหรือระบบหลักดิน (Grounding Electode)แท่งทองแดง ขนาด 5/8 นิ้ว (16 มม.)ยาว 8 ฟุต (2.40 เมตร) แผ่นโลหะที่มีพื้นที่สัมผัสไม่น้อยกว่า 1,800 ตร.ซม.หนาไม่น้อย กว่า 1.5 มม.ต้องฝังลึกจากผิวดินไม่น้อยกว่า 160 ซม.
และเมื่อใช้ไปนานๆ 10-20 ปี ถ้าหลักดินเสื่อม ผุกร่อน หรือ ขั้วต่อขาด จะเกิดอันตรายไหม
6. การต่อหลักดิน ตามมาตรฐานการไฟฟ้าแบบใหม่ ให้เอา L ต่อกับ G ก่อนเข้าเมนเบรคเกอร์ กับ การต่อหลักดินตามมาตรฐานเก่า แยก N กับ G ไม่ได้ต่อกัน แบบไหนปลอดภัยกว่ากัน และแบบไหน นิยมใช้กันในโลกนี้มากกว่ากันครับ พอมี web ค้นหาเกี่ยวกับ มาตรฐานการต่อหลักดิน ของประเทศต่างๆในโลกไหมครับ
ขอบคุณครับ