NBA เพิ่งคลอดนโยบายจํากัดการพักสตาร์โดยไม่จําเป็นเรียกว่า “Player Participation Policy” (PPP) ข้อมูลคร่าวๆ คือ:
-ห้ามพักสตาร์มากกว่า 1 คนในเกมส์เดียวกัน
-ห้ามพักสตาร์ทุกคนในเกมส์ที่ถ่ายสดออกทางทีวีทั่วประเทศหรือบาสถ้วย
-ถ้ามีเเข่งถี่ๆ ทั้งในบ้านเเละนอกบ้านให้เลือกพักเกมส์ในบ้านก่อน
-ห้ามจับสตาร์นั่งยาวเพียงเพราะหมดลุ้นเข้า playoff หรือระหว่างรอการเทรด
-สตาร์ที่นั่งพักต้องเข้ามาดูในสนามให้เเฟนบาสได้ยลโฉมด้วย
คนที่เข้าข่ายสตาร์มีทั้งหมด 49 คนโดยเป็นคนที่มีชื่อติด All-Star หรือ All-NBA ใน 3 ฤดูกาลล่าสุดซึ่ง Victor Wembanyama ไม่เข้าเกณฑ์นี้เลยไม่โดนผลกระทบอะไร
ลีกอ้างว่าได้ทําการศึกษาข้อมูลเเละพบว่าการนั่งที่ข้างสนามไม่ได้ช่วยให้มีการบาดเจ็บหรือเหนื่อยน้อยลง อีกทั้งผู้เล่นจะมีประสิทธิภาพลดลงในเกมส์ที่ 2 ด้วยถ้าถูกจับนั่งในวันก่อนหน้า
สื่อคิดว่า NBA ควรตีพิมพ์ให้ดูว่าเอาบทสรุปพวกนี้มาจากไหน มีการเก็บข้อมูลยังไง ทีมต่างๆ คงไม่เชื่อถ้ามีการอ้างลอยๆ เเบบนี้ ตอน Thibodeau คุม Bulls มีการใช้งานตัวจริงหนักมากทําให้ร่างกายของหลายคนเช่น Rose, Butler, Noah บักโกรกเเละไปไม่ถึงเเหวนเเชมป์เเสดงว่าการใช้ร่างกายหนักไม่ดีต่อผู้เล่นในระยะยาว
การนั่งพักไม่ได้มาจากการตัดสินใจของผู้เล่นเเต่ผู้บริหาร, โค้ชเเละเทรนเนอร์สั่งการร่วมกันเพราะต้องการปกป้องไม่ให้ตัวหลักที่มีค่าเหนื่อย $200 ล้าน+ เจ็บก่อน playoff เริ่มเเข่ง บาสสมัยใหม่มีความเร็วสูงทําให้ผู้เล่นเหนื่อยง่ายกว่าเเต่ก่อน
จุดเริ่มต้นของ load management เกิดจากการที่โค้ช Pop พัก Tim Duncan เเละคนอื่นในเกมส์ที่เเข่งเเบบ 2 นัดติดกันเเละเกมส์ไหนที่เเพ้ขาดในครึ่งเเรกจะมีการทิ้งเกมส์ทันทีโดยเปลี่ยนตัวจริงออกมาหมดซึ่งสเปอร์ได้มาหลายเเชมป์เเละหลายคนเล่นกันยาวจนเข้าหลัก 40 ปีร่วมถึง Raptors ที่ถนอมร่างกายคาไวจนได้เเชมป์ปี 2019 ด้วยทําให้หลายคนมองว่า load management น่าจะมีประโยชน์จริงเเต่ลีกจําเป็นต้องหยุดการระบาดเพราะมันไม่ดีต่อเเฟนบาสเเละเรทติ้งทําให้มีการผลักดันนโนบาย PPP ออกมา
Credit: Yahoo Sports
🏀 ข้อโตเถียงเรื่อง load management
-ห้ามพักสตาร์มากกว่า 1 คนในเกมส์เดียวกัน
-ห้ามพักสตาร์ทุกคนในเกมส์ที่ถ่ายสดออกทางทีวีทั่วประเทศหรือบาสถ้วย
-ถ้ามีเเข่งถี่ๆ ทั้งในบ้านเเละนอกบ้านให้เลือกพักเกมส์ในบ้านก่อน
-ห้ามจับสตาร์นั่งยาวเพียงเพราะหมดลุ้นเข้า playoff หรือระหว่างรอการเทรด
-สตาร์ที่นั่งพักต้องเข้ามาดูในสนามให้เเฟนบาสได้ยลโฉมด้วย
คนที่เข้าข่ายสตาร์มีทั้งหมด 49 คนโดยเป็นคนที่มีชื่อติด All-Star หรือ All-NBA ใน 3 ฤดูกาลล่าสุดซึ่ง Victor Wembanyama ไม่เข้าเกณฑ์นี้เลยไม่โดนผลกระทบอะไร
ลีกอ้างว่าได้ทําการศึกษาข้อมูลเเละพบว่าการนั่งที่ข้างสนามไม่ได้ช่วยให้มีการบาดเจ็บหรือเหนื่อยน้อยลง อีกทั้งผู้เล่นจะมีประสิทธิภาพลดลงในเกมส์ที่ 2 ด้วยถ้าถูกจับนั่งในวันก่อนหน้า
สื่อคิดว่า NBA ควรตีพิมพ์ให้ดูว่าเอาบทสรุปพวกนี้มาจากไหน มีการเก็บข้อมูลยังไง ทีมต่างๆ คงไม่เชื่อถ้ามีการอ้างลอยๆ เเบบนี้ ตอน Thibodeau คุม Bulls มีการใช้งานตัวจริงหนักมากทําให้ร่างกายของหลายคนเช่น Rose, Butler, Noah บักโกรกเเละไปไม่ถึงเเหวนเเชมป์เเสดงว่าการใช้ร่างกายหนักไม่ดีต่อผู้เล่นในระยะยาว
การนั่งพักไม่ได้มาจากการตัดสินใจของผู้เล่นเเต่ผู้บริหาร, โค้ชเเละเทรนเนอร์สั่งการร่วมกันเพราะต้องการปกป้องไม่ให้ตัวหลักที่มีค่าเหนื่อย $200 ล้าน+ เจ็บก่อน playoff เริ่มเเข่ง บาสสมัยใหม่มีความเร็วสูงทําให้ผู้เล่นเหนื่อยง่ายกว่าเเต่ก่อน
จุดเริ่มต้นของ load management เกิดจากการที่โค้ช Pop พัก Tim Duncan เเละคนอื่นในเกมส์ที่เเข่งเเบบ 2 นัดติดกันเเละเกมส์ไหนที่เเพ้ขาดในครึ่งเเรกจะมีการทิ้งเกมส์ทันทีโดยเปลี่ยนตัวจริงออกมาหมดซึ่งสเปอร์ได้มาหลายเเชมป์เเละหลายคนเล่นกันยาวจนเข้าหลัก 40 ปีร่วมถึง Raptors ที่ถนอมร่างกายคาไวจนได้เเชมป์ปี 2019 ด้วยทําให้หลายคนมองว่า load management น่าจะมีประโยชน์จริงเเต่ลีกจําเป็นต้องหยุดการระบาดเพราะมันไม่ดีต่อเเฟนบาสเเละเรทติ้งทําให้มีการผลักดันนโนบาย PPP ออกมา
Credit: Yahoo Sports