Intro
สวัสดีครับทุกคน ในกระทู้นี้ ผมอยาก เเชร์ประสบการณ์ในการสมัครมหาวิทยาลัยสหรัฐอเมริกาในช่วงปี 2022 - 2023 ที่ผ่านมาเเบบละเอียดจัดๆ เพื่อทั้งฝึกการเขียนของตัวเอง เเละเป็นประโยชน์ + วิทยาทานให้น้องๆ (หรือพี่ๆ) ที่อยากลองสมัคร หรือกำลังค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆอยู่ ไม่มากก็น้อยนะครับ 5555+
Education Background:
ตั้งเเต่เป็นเด็กจิ๋วๆ ผมโรงเรียนหลักสูตรไทย ภาคปกติ (ไม่ใช่ EP/EIP) ตั้งเเต่ประถมถึงมปลาย เเละย้ายจากเเผนการเรียน วิทย์-คณิต ไปศิลป์-คำนวณ ในช่วง ม.5 เทอม 2 ซึ่งทำให้ใบเกรดผมมีวิชาเรียนที่เกี่ยวข้องกับ Innovation, Business, Entrepreneurship ในช่วง 2-3 ปีสุดท้ายมากกว่าทั่วไป
มหาลัยอเมริกาให้ความสำคัญกับความเกี่ยวข้อง (หรือความ make sense) ของวิชาที่เราเรียนในช่วง ม.ปลาย กับสาขาวิชา (major) ที่เราสมัครไปมากกก อย่างเช่น ถ้าใครอยากยื่น Engineering Program การมีพื้นฐานเรื่อง Calculus, Physics หรือพวกวิชาเฉพาะจะมีประโยชน์มากๆ หรือหากใครอยากเข้า Business/Economics ในรายวิชาอาจต้องมีวิชา elective ที่เกี่ยวมากๆอย่าง Business, Innovation, Business Law หรือวิชา Math ในเเผนศิลป์-คำนวณ เช่นเดียวกับด้านศิลป์-ภาษา กับ major อย่าง Arts, History หรือ Literature ครับ
Test Prep Advice:
มหาวิทยาลัยในสหรัฐฯ เเทบทุกสถาบันต้องการคะเเนนสอบ 2 ส่วน คือ 1) Standardized Test (ACT หรือ SAT) เเละ 2) English Proficiency Test (IELTS, TOEFL, Duolingo Test)
นโยบาย Test-optional หรือพูดง่ายๆคือยื่น/ไม่ยื่นคะเเนน Standardized Test ก็ได้ เเละนโยบาย Superscore ที่จะต่างจากมหาวิทยาลัยในไทย คือสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดจากเเต่ละส่วนมาผนวกกัน เช่น สมมติว่าสอบได้ 1400 (EVBRW 750, Math 650) เเละ 1420 (EVBRW 660, Math 760) เวลายื่นมหาวิทยาลัยในไทย คะเเนน 1400 จะถูกนำมาใช้ เเต่หากเป็นมหาวิทยาลัยในสหรัฐฯ คะเเนน 2 รอบนี้จะผนวกกันเป็น 1510 ทันที เเปลว่าชีวิตเราจะง่ายขึ้นมานิดนึง
Resource ในการเตรียมตัว/ ฝึกทำข้อสอบ: ในช่วงปีที่ผมสอบ (2021-2022) เเละข้อสอบ Digital SAT ในปัจจุบัน อาจใช้ร่วมกันไม่ได้เหมือนเดิม ฉะนั้นลองอัพเดตเทรนด์ใหม่เรื่อยๆผ่านโซเชียลต่างๆก็ดีครับ 😂 เเต่หลักๆคือ Past Papers จาก 4-5 ปีที่ผ่านมาหรือหนังสือพวก Erica Meltzer (English), College Panda (Math), UWorld, หรือ Khan Academy
การกระหน่ำอ่านหนังสือ ทำข้อสอบวันละ 3-4 ชุด หรือก้มหน้าก้มตาลุย ไม่ได้การันตีว่าคะเเนนเราจะดี/สูงขึ้นตามที่หวังไว้เสมอไป เพราะจริงๆเเล้ว เวลาพัก (recovery) สำคัญไม่เเพ้เวลาฝึกซ้อม (โดยเฉพาะช่วง 1-2 สัปดาห์ก่อนสอบ ที่เราจะตื้อจัดๆจากการอ่านนานๆ)
อ่านหนังสือหนัก/เยอะที่สุดในชีวิตประมาณ 1-2 เดือนช่วง November-December
ปรากฏว่าคะเเนนลดลงไป 30-40 คะเเนน 555555+ เพราะเครียด + กดดันตัวเองผ่านการอ่านมากไป 💀
ยังไงก็ตามพอช่วงสอบมาถึง เเต่ละคนก็มีสไตล์การเตรียมที่ต่างกัน บางคนอาจถนัดการอัดช่วงใกล้สอบ ให้ความรู้-เทคนิคสดๆในหัว หรือบางคนอาจชอบการค่อยๆอ่านสะสมไปเรื่อยๆ ต้องลองตกผลึกหาวิธีที่ทรมานน้อยที่สุดดูครับ 😅
Reasons: choosing crimson + what are the benefits?
คำถามที่หลายๆบ้าน + เเทบทุกคนเป็นประเด็นม๊ากมากคือการใช้ Consultant ในการสมัคร ไม่ว่าจะเป็นรุ่นพี่ที่รู้จักกัน บริษัทดังๆ หรือคนรู้จักที่ไปเมืองนอกมางี้ ขึ้นอยู่กับเป้าหมาย + ความต้องการเป็นหลัก อย่างการยื่นมหาลัยบางที่ ไม่ต้องมี Consultant ก็เข้าได้สบายๆ เเต่ในทางกลับกัน กับมหาลัยที่เข้ายากนิดนึง การมีคนมาช่วยตรวจ/ดู idea เเละใบสมัครก็อาจจะช่วยอัพโอกาสขึ้นมาได้นิดนึง
อย่างช่วง ม.5/ม.6 ตอนนั้นมองไว้หลายๆเจ้าทั้งในไทยกับต่างประเทศ อย่างพวก Shemmassian, PrepScholar เเละในไทยอีกหลายๆที่ + ลองคุยกับรุ่นพี่หลายๆคน เทียบว่า
1) Track Record ของเค้าดีเเค่ไหน
2) วิธีการทำงานในทีมเป็นยังไง (ตรวจได้กี่รอบ กี่โรงเรียน ฯลฯ)
3) เเพคเกจโดยรวมคุ้มค่าเเค่ไหน (ถ้าราคาไม่ make sense ก็ตัดทิ้งเลย)
สุดท้ายด้วยความ Global, Track Record ที่ดี เเละการมี Office เป็นเรื่องเป็นราวในไทย (เกิดอะไรขึ้นเเล้วตามตัวง่าย 😂) เลยเลือก Crimson
ยังไงหากเลือกใช้จริงๆ ให้คุยกับทุกๆที่เเล้วเปรียบเทียบ อย่าพึ่งเชื่ออะไรทั้งหมดที่ได้ยิน โดยเฉพาะตอนคุยรอบเเรกๆ 5555+ เเล้วค่อยตัดสินใจว่าควรใช้/ไม่ควรตามเป้าหมายของเราได้เลยย + ย้ำว่าถ้าที่ไหนอยากให้จ่าย Lump Sum เป็นก้อนเเรก-ก้อนเดียว เลี่ยงได้เลี่ยงเลยนะครับ 😅
เเต่ Crimson ค่อนข้างดูเเลดีมากๆ ทั้งในด้านการตรวจ Essays ตั้งเเต่ผมยังเขียนไม่รู้เรื่อง หรือการช่วยคิด Activity กับวิธีเขียนอธิบายให้ดูดี เลยอยากเเนะนำว่า ถ้ากำลังเเอบเหล่หาที่ปรึกษาอยู่ ให้ลองเเวะไปคุยรับคำเเนะนำกับพี่ๆเค้าดู เเม้สุดท้ายจะไม่ได้ใช้ เเต่ก็จะได้ประโยชน์มากๆครับ 🙌🏻
Essays
ต่อมาในส่วนที่สำคัญที่สุดของการสมัครเลย คือ Essays หรือเรียงความ ที่ประกอบไปด้วย Personal Statement (Common App Essays) ที่จะต่างจากของ UK นิดนึง ตรงที่ของ US จะให้โอกาสการเล่าเรื่องในเชิงชีวิตส่วนตัวมากกว่า ในขณะที่ UK จะเน้นวิชาการจ๋ามากๆ
หากอยากนึกภาพความสำคัญของ Essays พวกนี้ ลองคิดดูว่านักเรียนประมาณ 3-40,000 คน ที่มีเกรด 3.7+ เเละคะเเนน SAT เกิน 1400-1500 มายืนเรียงๆกัน เเล้วเค้าจะเลือกใคร จะฟีลเเบบจับไม้สั้นไม้ยาววัดดวงมั้ย? ในบางมุมอาจจะใช่ (😂) เเต่ X-Factor หลักในการสมัครมหาลัยส่วนใหญ่ คือคาเเรคเตอร์ + ความน่าตื่นเต้น/น่าสนใจของเเต่ละคน อย่างบางคนเขียน Essays เเบบประโยคเดียว หรือเอาฮาจัดๆ ก็มีโอกาสติดได้ ถ้าถูกใจกรรมการจริงๆ (ระวังตลกเกินนะครับ เผื่อเค้าไม่ฮาด้วย 55555)
หลายๆมหาลัยมีคำถามเเปลกๆ ฮาๆ ไม่ก็ซีเรียสจัดๆ ที่เปลี่ยนเเบบปีต่อปี เช่นเเบบ
UChicago - A jellyfish is not a fish. Cat burglars don’t burgle cats. Rhode Island is not an island. Write an essay about some other misnomer, and either come up with and defend a new name for it or explain why its inaccurate name should be kept.
– Inspired by Sonia Chang, Class of 2025, and Mirabella Blair, Class of 2027
UCs - Every person has a creative side, and it can be expressed in many ways: problem solving, original and innovative thinking, and artistically, to name a few. Describe how you express your creative side (350 words)
Brown - Brown students care deeply about their work and the world around them. Students find contentment, satisfaction, and meaning in daily interactions and major discoveries. Whether big or small, mundane or spectacular, tell us about something that brings you joy. (200-250 words)
นอกจากตัว Personal Statement ข้างบนเป็นตัวอย่าง Essays ที่ต้องเราเขียนเพิ่มในการสมัครเเต่ละมหาลัย สังเกตได้ว่าคำถามบางที่จะออกเเนวฮาๆ เเละซีเรียสขึ้นนิดนึงในที่อื่นๆด้วย ทำให้เราต้องประเมินเอาเองว่าอันไหนควรเขียนอะไรให้เหมาะ ในขณะที่ต้องใส่ความ Unique ของเราลงไปเช่นกัน (ผมเขียนเรื่องกิจกรรมในช่วงมัธยมไปเยอะ + ใส่ความประหลาดในทางที่ดี (😅) ลงไป เช่นการย่างเนื้อ การชอบทำอาหารเเข่งกับคนที่บ้าน หรือหนังที่ชอบดู ประมาณนี้ครับ) หรือลองดู resource อย่าง College Essay Guy หรือ CollegeVine เพิ่มเติม เพื่อเกทฟีลของมหาลัยต่างๆ เเต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม อยากให้เขียนให้เป็นตัวเองมากที่สุด เพราะ Essay ที่ดูฝืนๆมันจะอ่านยากเเบบสังเกตได้จริงๆ (เพราะเคยทำเองมาเเล้วครับ 😂)
Results
จริงๆเเล้ว หลังผมโดนหลายๆมหาลัยปฏิเสธตั้งเเต่ช่วงธันวาคม ผมเตรียมตัว-เตรียมใจเรียนที่ไทยไว้เเล้ว 55555+ เพราะเพื่อนดีมากๆ อาจารย์ก็น่ารัก เลยคิดว่าอยู่ที่นี่เราก็เรียนรู้อะไรได้เยอะเหมือนกัน เเต่พอถึงช่วงประกาศผลรัวๆปึ้บ ปรากฏว่าดีกว่าที่คิดไว้ม้ากกกก (2 UC (LA, Berkeley) เเละ 1 Ivy League)
เลยอยากเเนะนำว่าสุดท้ายเเล้ว ให้ reach out เเละคุยกับรุ่นพี่เยอะๆ หา feedback ในทุกๆอย่างที่ทำ เเละเชื่อมั่นในตัวเองให้มากๆ ลองยื่นดู ไม่ลองไม่รู้จริงๆครับ 💪🏻
เเชร์ประสบการณ์สมัครปริญญาตรี Class of 2027 ในมหาวิทยาลัยสหรัฐอเมริกา!
สวัสดีครับทุกคน ในกระทู้นี้ ผมอยาก เเชร์ประสบการณ์ในการสมัครมหาวิทยาลัยสหรัฐอเมริกาในช่วงปี 2022 - 2023 ที่ผ่านมาเเบบละเอียดจัดๆ เพื่อทั้งฝึกการเขียนของตัวเอง เเละเป็นประโยชน์ + วิทยาทานให้น้องๆ (หรือพี่ๆ) ที่อยากลองสมัคร หรือกำลังค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆอยู่ ไม่มากก็น้อยนะครับ 5555+
Education Background:
ตั้งเเต่เป็นเด็กจิ๋วๆ ผมโรงเรียนหลักสูตรไทย ภาคปกติ (ไม่ใช่ EP/EIP) ตั้งเเต่ประถมถึงมปลาย เเละย้ายจากเเผนการเรียน วิทย์-คณิต ไปศิลป์-คำนวณ ในช่วง ม.5 เทอม 2 ซึ่งทำให้ใบเกรดผมมีวิชาเรียนที่เกี่ยวข้องกับ Innovation, Business, Entrepreneurship ในช่วง 2-3 ปีสุดท้ายมากกว่าทั่วไป
มหาลัยอเมริกาให้ความสำคัญกับความเกี่ยวข้อง (หรือความ make sense) ของวิชาที่เราเรียนในช่วง ม.ปลาย กับสาขาวิชา (major) ที่เราสมัครไปมากกก อย่างเช่น ถ้าใครอยากยื่น Engineering Program การมีพื้นฐานเรื่อง Calculus, Physics หรือพวกวิชาเฉพาะจะมีประโยชน์มากๆ หรือหากใครอยากเข้า Business/Economics ในรายวิชาอาจต้องมีวิชา elective ที่เกี่ยวมากๆอย่าง Business, Innovation, Business Law หรือวิชา Math ในเเผนศิลป์-คำนวณ เช่นเดียวกับด้านศิลป์-ภาษา กับ major อย่าง Arts, History หรือ Literature ครับ
Test Prep Advice:
มหาวิทยาลัยในสหรัฐฯ เเทบทุกสถาบันต้องการคะเเนนสอบ 2 ส่วน คือ 1) Standardized Test (ACT หรือ SAT) เเละ 2) English Proficiency Test (IELTS, TOEFL, Duolingo Test)
นโยบาย Test-optional หรือพูดง่ายๆคือยื่น/ไม่ยื่นคะเเนน Standardized Test ก็ได้ เเละนโยบาย Superscore ที่จะต่างจากมหาวิทยาลัยในไทย คือสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดจากเเต่ละส่วนมาผนวกกัน เช่น สมมติว่าสอบได้ 1400 (EVBRW 750, Math 650) เเละ 1420 (EVBRW 660, Math 760) เวลายื่นมหาวิทยาลัยในไทย คะเเนน 1400 จะถูกนำมาใช้ เเต่หากเป็นมหาวิทยาลัยในสหรัฐฯ คะเเนน 2 รอบนี้จะผนวกกันเป็น 1510 ทันที เเปลว่าชีวิตเราจะง่ายขึ้นมานิดนึง
Resource ในการเตรียมตัว/ ฝึกทำข้อสอบ: ในช่วงปีที่ผมสอบ (2021-2022) เเละข้อสอบ Digital SAT ในปัจจุบัน อาจใช้ร่วมกันไม่ได้เหมือนเดิม ฉะนั้นลองอัพเดตเทรนด์ใหม่เรื่อยๆผ่านโซเชียลต่างๆก็ดีครับ 😂 เเต่หลักๆคือ Past Papers จาก 4-5 ปีที่ผ่านมาหรือหนังสือพวก Erica Meltzer (English), College Panda (Math), UWorld, หรือ Khan Academy
การกระหน่ำอ่านหนังสือ ทำข้อสอบวันละ 3-4 ชุด หรือก้มหน้าก้มตาลุย ไม่ได้การันตีว่าคะเเนนเราจะดี/สูงขึ้นตามที่หวังไว้เสมอไป เพราะจริงๆเเล้ว เวลาพัก (recovery) สำคัญไม่เเพ้เวลาฝึกซ้อม (โดยเฉพาะช่วง 1-2 สัปดาห์ก่อนสอบ ที่เราจะตื้อจัดๆจากการอ่านนานๆ)
อ่านหนังสือหนัก/เยอะที่สุดในชีวิตประมาณ 1-2 เดือนช่วง November-December
ปรากฏว่าคะเเนนลดลงไป 30-40 คะเเนน 555555+ เพราะเครียด + กดดันตัวเองผ่านการอ่านมากไป 💀
ยังไงก็ตามพอช่วงสอบมาถึง เเต่ละคนก็มีสไตล์การเตรียมที่ต่างกัน บางคนอาจถนัดการอัดช่วงใกล้สอบ ให้ความรู้-เทคนิคสดๆในหัว หรือบางคนอาจชอบการค่อยๆอ่านสะสมไปเรื่อยๆ ต้องลองตกผลึกหาวิธีที่ทรมานน้อยที่สุดดูครับ 😅
Reasons: choosing crimson + what are the benefits?
คำถามที่หลายๆบ้าน + เเทบทุกคนเป็นประเด็นม๊ากมากคือการใช้ Consultant ในการสมัคร ไม่ว่าจะเป็นรุ่นพี่ที่รู้จักกัน บริษัทดังๆ หรือคนรู้จักที่ไปเมืองนอกมางี้ ขึ้นอยู่กับเป้าหมาย + ความต้องการเป็นหลัก อย่างการยื่นมหาลัยบางที่ ไม่ต้องมี Consultant ก็เข้าได้สบายๆ เเต่ในทางกลับกัน กับมหาลัยที่เข้ายากนิดนึง การมีคนมาช่วยตรวจ/ดู idea เเละใบสมัครก็อาจจะช่วยอัพโอกาสขึ้นมาได้นิดนึง
อย่างช่วง ม.5/ม.6 ตอนนั้นมองไว้หลายๆเจ้าทั้งในไทยกับต่างประเทศ อย่างพวก Shemmassian, PrepScholar เเละในไทยอีกหลายๆที่ + ลองคุยกับรุ่นพี่หลายๆคน เทียบว่า
1) Track Record ของเค้าดีเเค่ไหน
2) วิธีการทำงานในทีมเป็นยังไง (ตรวจได้กี่รอบ กี่โรงเรียน ฯลฯ)
3) เเพคเกจโดยรวมคุ้มค่าเเค่ไหน (ถ้าราคาไม่ make sense ก็ตัดทิ้งเลย)
สุดท้ายด้วยความ Global, Track Record ที่ดี เเละการมี Office เป็นเรื่องเป็นราวในไทย (เกิดอะไรขึ้นเเล้วตามตัวง่าย 😂) เลยเลือก Crimson
ยังไงหากเลือกใช้จริงๆ ให้คุยกับทุกๆที่เเล้วเปรียบเทียบ อย่าพึ่งเชื่ออะไรทั้งหมดที่ได้ยิน โดยเฉพาะตอนคุยรอบเเรกๆ 5555+ เเล้วค่อยตัดสินใจว่าควรใช้/ไม่ควรตามเป้าหมายของเราได้เลยย + ย้ำว่าถ้าที่ไหนอยากให้จ่าย Lump Sum เป็นก้อนเเรก-ก้อนเดียว เลี่ยงได้เลี่ยงเลยนะครับ 😅
เเต่ Crimson ค่อนข้างดูเเลดีมากๆ ทั้งในด้านการตรวจ Essays ตั้งเเต่ผมยังเขียนไม่รู้เรื่อง หรือการช่วยคิด Activity กับวิธีเขียนอธิบายให้ดูดี เลยอยากเเนะนำว่า ถ้ากำลังเเอบเหล่หาที่ปรึกษาอยู่ ให้ลองเเวะไปคุยรับคำเเนะนำกับพี่ๆเค้าดู เเม้สุดท้ายจะไม่ได้ใช้ เเต่ก็จะได้ประโยชน์มากๆครับ 🙌🏻
Essays
ต่อมาในส่วนที่สำคัญที่สุดของการสมัครเลย คือ Essays หรือเรียงความ ที่ประกอบไปด้วย Personal Statement (Common App Essays) ที่จะต่างจากของ UK นิดนึง ตรงที่ของ US จะให้โอกาสการเล่าเรื่องในเชิงชีวิตส่วนตัวมากกว่า ในขณะที่ UK จะเน้นวิชาการจ๋ามากๆ
หากอยากนึกภาพความสำคัญของ Essays พวกนี้ ลองคิดดูว่านักเรียนประมาณ 3-40,000 คน ที่มีเกรด 3.7+ เเละคะเเนน SAT เกิน 1400-1500 มายืนเรียงๆกัน เเล้วเค้าจะเลือกใคร จะฟีลเเบบจับไม้สั้นไม้ยาววัดดวงมั้ย? ในบางมุมอาจจะใช่ (😂) เเต่ X-Factor หลักในการสมัครมหาลัยส่วนใหญ่ คือคาเเรคเตอร์ + ความน่าตื่นเต้น/น่าสนใจของเเต่ละคน อย่างบางคนเขียน Essays เเบบประโยคเดียว หรือเอาฮาจัดๆ ก็มีโอกาสติดได้ ถ้าถูกใจกรรมการจริงๆ (ระวังตลกเกินนะครับ เผื่อเค้าไม่ฮาด้วย 55555)
หลายๆมหาลัยมีคำถามเเปลกๆ ฮาๆ ไม่ก็ซีเรียสจัดๆ ที่เปลี่ยนเเบบปีต่อปี เช่นเเบบ
UChicago - A jellyfish is not a fish. Cat burglars don’t burgle cats. Rhode Island is not an island. Write an essay about some other misnomer, and either come up with and defend a new name for it or explain why its inaccurate name should be kept.
– Inspired by Sonia Chang, Class of 2025, and Mirabella Blair, Class of 2027
UCs - Every person has a creative side, and it can be expressed in many ways: problem solving, original and innovative thinking, and artistically, to name a few. Describe how you express your creative side (350 words)
Brown - Brown students care deeply about their work and the world around them. Students find contentment, satisfaction, and meaning in daily interactions and major discoveries. Whether big or small, mundane or spectacular, tell us about something that brings you joy. (200-250 words)
นอกจากตัว Personal Statement ข้างบนเป็นตัวอย่าง Essays ที่ต้องเราเขียนเพิ่มในการสมัครเเต่ละมหาลัย สังเกตได้ว่าคำถามบางที่จะออกเเนวฮาๆ เเละซีเรียสขึ้นนิดนึงในที่อื่นๆด้วย ทำให้เราต้องประเมินเอาเองว่าอันไหนควรเขียนอะไรให้เหมาะ ในขณะที่ต้องใส่ความ Unique ของเราลงไปเช่นกัน (ผมเขียนเรื่องกิจกรรมในช่วงมัธยมไปเยอะ + ใส่ความประหลาดในทางที่ดี (😅) ลงไป เช่นการย่างเนื้อ การชอบทำอาหารเเข่งกับคนที่บ้าน หรือหนังที่ชอบดู ประมาณนี้ครับ) หรือลองดู resource อย่าง College Essay Guy หรือ CollegeVine เพิ่มเติม เพื่อเกทฟีลของมหาลัยต่างๆ เเต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม อยากให้เขียนให้เป็นตัวเองมากที่สุด เพราะ Essay ที่ดูฝืนๆมันจะอ่านยากเเบบสังเกตได้จริงๆ (เพราะเคยทำเองมาเเล้วครับ 😂)
Results
จริงๆเเล้ว หลังผมโดนหลายๆมหาลัยปฏิเสธตั้งเเต่ช่วงธันวาคม ผมเตรียมตัว-เตรียมใจเรียนที่ไทยไว้เเล้ว 55555+ เพราะเพื่อนดีมากๆ อาจารย์ก็น่ารัก เลยคิดว่าอยู่ที่นี่เราก็เรียนรู้อะไรได้เยอะเหมือนกัน เเต่พอถึงช่วงประกาศผลรัวๆปึ้บ ปรากฏว่าดีกว่าที่คิดไว้ม้ากกกก (2 UC (LA, Berkeley) เเละ 1 Ivy League)
เลยอยากเเนะนำว่าสุดท้ายเเล้ว ให้ reach out เเละคุยกับรุ่นพี่เยอะๆ หา feedback ในทุกๆอย่างที่ทำ เเละเชื่อมั่นในตัวเองให้มากๆ ลองยื่นดู ไม่ลองไม่รู้จริงๆครับ 💪🏻