เมื่อตลาดหลักทรัพย์เปิดทําการ
ให้คุณ พิธา ขายหุ้นทิ้ง ถ้าขายได้เหมือน การซื้อขายหุ้นปกติ
ก็แสดงว่าหุ้นนั้น ได้โอนเป็นของคุณ พิธา โดยสมบูรณ์แล้ว
ถ้าขายไม่ได้
ด้วยติดขั้นตอนทางกฏหมายอื่นๆ
อาจมีความเป็นไปได้ ว่าหุ้นยังไม่ได้โอนเป็นของคุณ พิธา
โดยสมบูรณ์
ชื่อที่ปรากฏเอกสารหุ้น เป็นแค่ในนามผู้จัดการมรดก
*** ใช้สามัญสํานึก
บิดา เสียชีวิตมา 17 ปี
แล้วจะปล่อยหุ้นไว้ ให้เป็นชื่อบิดา อยู่อย่างนั้นหรือ
*** ถ้าหุ้นมีมูลค่าเป็นพันล้าน เป็นคุณจะทําอย่างไร
ก็ต้องยื่นเรื่องต่อศาล เพื่อแต่งตั้งผู้จัดการมรดกเข้าไปดูแลหุ้นแทน
ผู้เสียชีวิต
.............
อีกอย่าง....
มีนักกฏหมายบางท่าน
ยกประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1599 มาอ้างอิง
"เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท"
เสมือนว่าคุณ พิธา ได้เป็นเจ้าของหุ้นโดยสมบูรณ์แล้ว
นับแต่วันที่ บิดาเสียชีวิต
แต่ถ้าอ่านกฏหมายให้ครบถ้วนทั้งมาตรา
และ มาตราอื่นๆ ที่เกี่ยวกับกฏหมายมรดก มาประกอบ
ความหมายจริงๆ ของมาตรา 1599 ก็คือ
เมื่อบุคคลใดตาย ทายาทของบุคคลนั้น
มีสิทธิโดยชอบธรรม ที่จะเป็นผู้รับมรดก
***
เป็นเจ้าของ กับ กับมีสิทธิโดยชอบธรรม
ที่จะเป็นเจ้าของ ไม่เหมือนกันน่ะครับ
เหตุนี้จึงมี กฏหมายสละมรดก( คือการไม่ขอรับมรดก)
....................................
๑๑๑...ที่จริงเรื่องหุ้น ITV ของคุณ พิธา พิสูจน์ได้ไม่ยากหรอกครับ
ให้คุณ พิธา ขายหุ้นทิ้ง ถ้าขายได้เหมือน การซื้อขายหุ้นปกติ
ก็แสดงว่าหุ้นนั้น ได้โอนเป็นของคุณ พิธา โดยสมบูรณ์แล้ว
ถ้าขายไม่ได้
ด้วยติดขั้นตอนทางกฏหมายอื่นๆ
อาจมีความเป็นไปได้ ว่าหุ้นยังไม่ได้โอนเป็นของคุณ พิธา
โดยสมบูรณ์
ชื่อที่ปรากฏเอกสารหุ้น เป็นแค่ในนามผู้จัดการมรดก
*** ใช้สามัญสํานึก
บิดา เสียชีวิตมา 17 ปี
แล้วจะปล่อยหุ้นไว้ ให้เป็นชื่อบิดา อยู่อย่างนั้นหรือ
*** ถ้าหุ้นมีมูลค่าเป็นพันล้าน เป็นคุณจะทําอย่างไร
ก็ต้องยื่นเรื่องต่อศาล เพื่อแต่งตั้งผู้จัดการมรดกเข้าไปดูแลหุ้นแทน
ผู้เสียชีวิต
.............
อีกอย่าง....
มีนักกฏหมายบางท่าน
ยกประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1599 มาอ้างอิง
"เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท"
เสมือนว่าคุณ พิธา ได้เป็นเจ้าของหุ้นโดยสมบูรณ์แล้ว
นับแต่วันที่ บิดาเสียชีวิต
แต่ถ้าอ่านกฏหมายให้ครบถ้วนทั้งมาตรา
และ มาตราอื่นๆ ที่เกี่ยวกับกฏหมายมรดก มาประกอบ
ความหมายจริงๆ ของมาตรา 1599 ก็คือ
เมื่อบุคคลใดตาย ทายาทของบุคคลนั้น
มีสิทธิโดยชอบธรรม ที่จะเป็นผู้รับมรดก
***เป็นเจ้าของ กับ กับมีสิทธิโดยชอบธรรม
ที่จะเป็นเจ้าของ ไม่เหมือนกันน่ะครับ
เหตุนี้จึงมี กฏหมายสละมรดก( คือการไม่ขอรับมรดก)
....................................