คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
แต่ละ คณะ สาขา ภาควิชา เอก เน้น คนละด้าน
สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย์
วิศวกรรมชีวการแพทย์ เป็นสาขาวิชที่นำเอาความรู้ทางด้าน "วิศวกรรมศาสตร์ + วิทยาศาสตร์การแพทย์" มาประยุกต์ใช้ร่วมกัน
พื่อออกแบบสร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐาน สามารถใช้งานได้จริง รวมถึงการศึกษาค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่มีความซับซ้อน และต้องการขั้นตอนการผลิตที่มีมาตรฐาน และ ประสิทธิภาพสูง
เรียนจบ อาชีพ
นักวิจัยทางด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์
วิศวกรในบริษัทเอกชนหน่วยงานภาครัฐ เกี่ยวกับ วิจัยพัฒนา ผลิต ขาย ซ่อมบำรุง ติดตั้ง
วิศวกรชีวการแพทย์/วิศวกรประจำโรงพยาบาล
ผู้แทนขายเครื่องมือแพทย์
ประกอบธุรกิจส่วนตัว ฯลฯ
สาขาวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์
มุ่งเน้นความรู้และทักษะทั้งการปฏิบัติและการวิจัยทางชีวเวชศาสตร์ เพื่อตอบสนองตลาดแรงงานที่ต้องการบุคลากรมาสนับสนุนวิทยาการทางการแพทย์สมัยใหม่ มีการผสมผสานกลุ่มวิชาทางชีวการแพทย์ ซึ่งกำลังที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ผู้เรียนสามารถเลือกกลุ่มวิชาตามความถนัดและสนใจได้
แนวทางการประกอบอาชีพ
1. นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ และผู้ช่วยวิจัยทางการแพทย์ ประจำสถาบันการศึกษา โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน บริษัท ศูนย์วิจัย หรือสถาบันวิจัยต่างๆ
2. เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์, จุลชีววิทยา, อณูวิทยา และนิติวิทยาศาสตร์
3. เจ้าหน้าที่ประจำงานตรวจสอบคุณภาพ (Q.C.) หรืองานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) เช่น สินค้าอุปโภค สินค้าบริโภค เภสัชภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ เป็นต้น ฯลฯ
สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย์
วิศวกรรมชีวการแพทย์ เป็นสาขาวิชที่นำเอาความรู้ทางด้าน "วิศวกรรมศาสตร์ + วิทยาศาสตร์การแพทย์" มาประยุกต์ใช้ร่วมกัน
พื่อออกแบบสร้างหรือพัฒนาซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐาน สามารถใช้งานได้จริง รวมถึงการศึกษาค้นคว้าเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่มีความซับซ้อน และต้องการขั้นตอนการผลิตที่มีมาตรฐาน และ ประสิทธิภาพสูง
เรียนจบ อาชีพ
นักวิจัยทางด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์
วิศวกรในบริษัทเอกชนหน่วยงานภาครัฐ เกี่ยวกับ วิจัยพัฒนา ผลิต ขาย ซ่อมบำรุง ติดตั้ง
วิศวกรชีวการแพทย์/วิศวกรประจำโรงพยาบาล
ผู้แทนขายเครื่องมือแพทย์
ประกอบธุรกิจส่วนตัว ฯลฯ
สาขาวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์
มุ่งเน้นความรู้และทักษะทั้งการปฏิบัติและการวิจัยทางชีวเวชศาสตร์ เพื่อตอบสนองตลาดแรงงานที่ต้องการบุคลากรมาสนับสนุนวิทยาการทางการแพทย์สมัยใหม่ มีการผสมผสานกลุ่มวิชาทางชีวการแพทย์ ซึ่งกำลังที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ผู้เรียนสามารถเลือกกลุ่มวิชาตามความถนัดและสนใจได้
แนวทางการประกอบอาชีพ
1. นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ และผู้ช่วยวิจัยทางการแพทย์ ประจำสถาบันการศึกษา โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน บริษัท ศูนย์วิจัย หรือสถาบันวิจัยต่างๆ
2. เจ้าหน้าที่ประจำห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์, จุลชีววิทยา, อณูวิทยา และนิติวิทยาศาสตร์
3. เจ้าหน้าที่ประจำงานตรวจสอบคุณภาพ (Q.C.) หรืองานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) เช่น สินค้าอุปโภค สินค้าบริโภค เภสัชภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ เป็นต้น ฯลฯ
แสดงความคิดเห็น
วิยาศาสตร์ชีวการแพทย์ รังสิตเป็นยังไงบ้างคะ