คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 5
รถเชื้อเพลิง จะมีก๊าซและความร้อนเข้ามาในรถ
แต่ถ้าเป็นรถไฟฟ้าจอดนอนติดเครื่องยนต์ เปิดแอร์ จะอันตรายมั๊ย
มวลออกซิเจนในรถจะเพียงพอสำหรับนอนนานแค่ไหน
สิ่งที่อันตราย จะเป็นระดับ CO2 ครับ
ปกติแล้ว หากคนเรานั่งแบบสงบ หรือ นอนหลับ
จะหายใจออกด้วยปริมาตรประมาณ 0.5 ลิตร
และตามภาพบนก็จะมี CO2
ออกมาด้วย 4% คิดเป็น 0.02 ลิตร
ห้องโดยสารรถยนต์ทั่วไปจะมีปริมาตรเฉลี่ย 3,000 ลิตร
ปริมาณที่อันตรายของ CO2 คือประมาณ 30,000 PPM
หรือ (30,000 / 1,000,000) × 3,000 = 90 ลิตร
เราหายใจออกเฉลี่ย 13 ครั้ง/นาที ดังนั้นจะผลิต CO2 ออกมา
ตกนาทีละประมาณ 13 × 0.02 = 0.26 ลิตร
ดังนั้นกว่าจะผลิต CO2 ออกมาถึงขีดอันตรายคือ 90 ลิตร
จะใช้เวลา 90/0.26 = 346 นาที .... ประมาณเกือบ 6 ชั่วโมง
หากลองคิดในเรื่อง O2 ลดระดับลงบ้าง
จากภาพบน หายใจเข้า 1 ครั้ง 500mL
ใช้ O2 ไป 5% ก็คือใช้ไป 0.025 ลิตร
ห้องโดยสารปริมาตร 3,000 ลิตร จะมี O2 อยู่ประมาณ
3,000 × 0.21 = 630 ลิตร และระดับอันตรายของ low O2
คือ 12% ของบรรยากาศ ก็คือ 3,000 × 0.12 = 360 ลิตร
ก็คือจะต้องใช้ O2 ไป 630 - 360 = 270 ลิตร
หายใจเข้า 1 นาทีใช้ O2 ไปเท่ากับ 13 × 0.025 = 0.325 ลิตร
นั่นก็หมายความว่าจะอยู่ได้นานประมาณ
270/0.325 = 830 นาที ก็เกือบ 14 ชั่วโมง
จะเห็นว่า มีปัญหาเรื่อง CO2 เกินก่อนครับ
(นี่คือคิดในกรณีห้องโดยสารปิดสนิท 100%
ซึ่งความจริงแล้ว อากาศจะรั่วไหลได้เล็กน้อย)
แต่ถ้าเป็นรถไฟฟ้าจอดนอนติดเครื่องยนต์ เปิดแอร์ จะอันตรายมั๊ย
มวลออกซิเจนในรถจะเพียงพอสำหรับนอนนานแค่ไหน
สิ่งที่อันตราย จะเป็นระดับ CO2 ครับ
ปกติแล้ว หากคนเรานั่งแบบสงบ หรือ นอนหลับ
จะหายใจออกด้วยปริมาตรประมาณ 0.5 ลิตร
และตามภาพบนก็จะมี CO2
ออกมาด้วย 4% คิดเป็น 0.02 ลิตร
ห้องโดยสารรถยนต์ทั่วไปจะมีปริมาตรเฉลี่ย 3,000 ลิตร
ปริมาณที่อันตรายของ CO2 คือประมาณ 30,000 PPM
หรือ (30,000 / 1,000,000) × 3,000 = 90 ลิตร
เราหายใจออกเฉลี่ย 13 ครั้ง/นาที ดังนั้นจะผลิต CO2 ออกมา
ตกนาทีละประมาณ 13 × 0.02 = 0.26 ลิตร
ดังนั้นกว่าจะผลิต CO2 ออกมาถึงขีดอันตรายคือ 90 ลิตร
จะใช้เวลา 90/0.26 = 346 นาที .... ประมาณเกือบ 6 ชั่วโมง
หากลองคิดในเรื่อง O2 ลดระดับลงบ้าง
จากภาพบน หายใจเข้า 1 ครั้ง 500mL
ใช้ O2 ไป 5% ก็คือใช้ไป 0.025 ลิตร
ห้องโดยสารปริมาตร 3,000 ลิตร จะมี O2 อยู่ประมาณ
3,000 × 0.21 = 630 ลิตร และระดับอันตรายของ low O2
คือ 12% ของบรรยากาศ ก็คือ 3,000 × 0.12 = 360 ลิตร
ก็คือจะต้องใช้ O2 ไป 630 - 360 = 270 ลิตร
หายใจเข้า 1 นาทีใช้ O2 ไปเท่ากับ 13 × 0.025 = 0.325 ลิตร
นั่นก็หมายความว่าจะอยู่ได้นานประมาณ
270/0.325 = 830 นาที ก็เกือบ 14 ชั่วโมง
จะเห็นว่า มีปัญหาเรื่อง CO2 เกินก่อนครับ
(นี่คือคิดในกรณีห้องโดยสารปิดสนิท 100%
ซึ่งความจริงแล้ว อากาศจะรั่วไหลได้เล็กน้อย)
แสดงความคิดเห็น
รถไฟฟ้า ถ้าเปิดแอร์จอดนอนจะทำให้เราตายมั๊ย
แต่ถ้าเป็นรถไฟฟ้าจอดนอนติดเครื่องยนต์ เปิดแอร์ จะอันตรายมั๊ย
มวลออกซิเจนในรถจะเพียงพอสำหรับนอนนานแค่ไหน