ศรีโภคะ (Bhoga/Sri Bhoga) หรือ อาณาจักรศรีโพธิ์ หรือที่อาณาจักรีศรีวิชัย สรุปแล้วอยู่ที่ปาเล็มบัง ในเกาะสุมาตราใต้เป็นศูนย์กลาง หรือเมืองไชยาเป็นศูนย์กลางแน่ครับ
แล้วความสัมพันธุ์ของอาณาจักรีศรีวิชัย และ อาณาจักรเขมรชัยวรมัน มีความสัมพันธ์กันแค่ไหน
จากหนังสือ วารสารการจัดการป่าไม้ 7(14) : 54-63(2556) Journal of Forest Management 7(14) : 54-63 (2013)
เรื่อง ชนเผ่ากูย (Kui) กวย (Kuoy) หรือส่วย (Suay)
รูปร่างลักษณะของชาวกูย
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้สมทรง (2557) กล่าวไว้ว่า รูปร่างของ
ชาวกูยดั้งเดิมมีลักษณะคล้ายคลึงกับพวกเซมังหรือ
เงาะป่าหรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ซาไก ซึ่งเป็น
ชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในป่าทึบของประเทศ
มาเลเซีย และทางภาคใต้ของประเทศไทย กล่าวคือ
ชนเผ่ากูยดั้งเดิมจะมีผมดก หยิกหยอก จมูกแบน
ริมฝีปากบาง ผิวดำ แต่กระบวนการแลกเปลี่ยน
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการแต่งงาน
ข้ามพรมแดนทางวัฒนธรรมทำให้เกิดการถ่ายเท
ทางพันธุกรรม (gene flow) ทำให้ชาวกูยกลาย
ลักษณะรูปร่างที่เปลี่ยนไปคล้ายพวกมอญ - เขมร
กล่าวคือ มีร่างกายสูงใหญ่ไหล่กว้างเป็นเหลี่ยม
ปัจจุบันรูปร่างของชาวกุยจะมีรูปร่างคล้ายชาวชนบท
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยทั่วไป
มีความเป็นไปได้ไหมว่า กลุ่มคนอาณาจักรทางใต้จะมามีความสัมพันธ์กับทางอาณาจักรเขมร
ความเกี่ยวข้องของอาณาจักรศรีวิชัย และ อาณาจักรเขมร
แล้วความสัมพันธุ์ของอาณาจักรีศรีวิชัย และ อาณาจักรเขมรชัยวรมัน มีความสัมพันธ์กันแค่ไหน
จากหนังสือ วารสารการจัดการป่าไม้ 7(14) : 54-63(2556) Journal of Forest Management 7(14) : 54-63 (2013)
เรื่อง ชนเผ่ากูย (Kui) กวย (Kuoy) หรือส่วย (Suay)
รูปร่างลักษณะของชาวกูย
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
มีความเป็นไปได้ไหมว่า กลุ่มคนอาณาจักรทางใต้จะมามีความสัมพันธ์กับทางอาณาจักรเขมร