•1 First S-curve การส่งเสริม 12 อุตสาหกรรมเป้าหมาย การต่อยอด-ยกระดับ 5 อุตสาหกรรมเดิมที่ไทยมีศักยภาพ
•2 EEC โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อเป็นพื้นที่การลงทุนและแหล่งบ่มเพาะ 12 อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ
•3 EECi พัฒนาเมืองแห่งนวัตกรรม หรือเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ให้เป็น “ซิลิคอนวัลเลย์”“เมืองใหม่อัจฉริยะด้วยนวัตกรรมของเมืองไทย
•4 EECd เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล
•5 5G โครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล ครอบคลุมถึงการพัฒนาเทคโนโลยี 5G ทั่วประเทศ เพื่อเปลี่ยนผ่านสู่โลกดิจิทัล โดยในปี 2564 ความเร็วเฉลี่ยอินเตอร์เน็ตบ้านของไทย ที่ 308 ล้านบิทต่อวินาที (Mbps) ถือว่าแรงเป็นอันดับ 1 ของโลก
•6 Digital Government การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยมุ่งเป้าการเปลี่ยนแปลงสู่”รัฐบาลดิจิทัล” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของภาครัฐ โครงการเน็ตหมู่บ้าน 74,987 หมู่บ้าน ทั้งประเทศ โครงการสายเคเบิ้ลใต้น้ำ การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยมุ่งเป้าการเปลี่ยนแปลงสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของภาครัฐ
•7 Prompt Pay พัฒนาระบบ “พร้อมเพย์” เพื่อสนับสนุนการชำระเงินและโอนเงินแบบทันที พัฒนาระบบพอร์ทัลกลางเพื่อประชาชน (Citizen Portal) เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ในการติดต่อขอรับบริการผ่านช่องทางออนไลน์
•8 Transport Infrastructure โครงสร้างพื้นฐานคมนาคม เตรียมความพร้อมการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม โดยได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง เกิดการลงทุนจริง ที่มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยของ การลงทุนของภาครัฐ ในช่วงปี 2558 – 2562 ถึง 7.9% ต่อปี ได้แก่
•9 ทางถนน : จากปี 2557 มี 4,271 กิโลเมตร และปี 2564 เพิ่มเป็น 11,583 กิโลเมตร มอเตอร์เวย์ : สร้างเพิ่ม 3 เส้นทางสำคัญ บางปะอิน-โคราช บางใหญ่-กาญจนบุรี และพัทยา-มาบตาพุด
•10 ทางราง : จากปี 2557 ระยะทาง 4,073 กิโลเมตร ปัจจุบันมีแผนสร้างเพิ่ม ระยะเวลา 20 ปี จะมีระยะทาง 8,900 กิโลเมตร ครอบคลุม 62 จังหวัด เป็นทางคู่-ทางสาม 5,640 กิโลเมตร และสถานีสถานีกลางบางซื่อ เป็นชุมทางรถไฟขนาดใหญ่ ทันสมัยที่สุดในอาเซียน
สร้างเพิ่ม 10 สาย ระยะทางรวม 204.9 กิโลเมตร อยู่ระหว่างการพิจารณาอีก 2 สาย
นอกจากนี้ ยังมีรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน และรถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน ที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
•11 ทางน้ำ : เพิ่มศักยภาพรองรับปริมาณการขนส่งทางน้ำ จากเดิมปี 2557 ประมาณ 279 ล้านตัน ในปี 2564 เพิ่มเป็น 355 ล้านตัน โดยพัฒนาท่าเรือมาบตาพุด และท่าเรือแหลมฉบัง เปิดเดินเรือเฟอร์รี่พัทยา-หัวหิน ใช้เวลา 2 ชั่วโมง เชื่อมแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ กระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ปีละ 4,000 ล้านบาท
•12 ทางอากาศ : ปรับปรุงสนามบินทั่วประเทศ เพิ่มศักยภาพการรองรับผู้โดยสาร จากเดิมปี 57 รองรับ 118 ล้านคน ปี 64 เพิ่มเป็น 139 ล้านคน
•13 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ โดยจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี เพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วม-น้ำแล้ง และเตรียมน้ำต้นทุน สำหรับภาคการผลิต ทั้งเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ผลลัพธ์ที่ได้รับตั้งแต่ปี 2560 จนถึงปัจจุบัน ได้แก่ เพิ่มการกักเก็บน้ำรวม 1,452 ล้าน ลบ.ม. พัฒนาน้ำบาดาลเพื่อการเกษตร 124 ล้าน ลบ.ม. ลดพื้นที่ประสบภัยแล้งลงอย่างต่อเนื่อง จาก 36,944 หมู่บ้าน ในปี 2556 และในปี 2564/65 ไม่มีประกาศภัยแล้ง
•14 การแสวงหาความร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อเป็นแรงเสริมในการขับเคลื่อน EEC ผลลัพธ์ที่จับต้องได้เช่น การฟื้นความสัมพันธ์ไทย-ซาอุดีอาระเบีย หลังจากห่างหายมากว่า 30 ปีความร่วมมือ ไทย-ญี่ปุ่น เช่น การผลักดันให้ไทยเป็นผู้นำอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าในภูมิภาคและเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าอันดับต้นๆ ของโลก หรือการร่วมประชุมสุดยอดอาเซียน-สหรัฐฯ ซึ่งมีเวทีการหารือความร่วมมือ ทั้งแบบหุภาคีและทวิภาคี ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในเรื่องต่าง ๆ
•15 ผลงานการแก้ปัญหาวิกฤติโรคระบาดโควิด-19 ซึ่งคนไทยกลุ่มคนที่มีอคติโจมตีรัฐบาลอย่างไม่ลืมหูลืมตา ในขณะที่รัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของไทย ได้ความคำชื่นชมจากนานาชาติทั่วโลก ได้แก่ ยกให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความมั่นคงทางสุขภาพเป็นอันดับที่ 5 ของโลก และเป็นอันดับที่ 1 ของเอเชีย จาก GHS 2021
ประเทศไทยครองอันดับที่ 1 ประเทศที่ฟื้นตัวและรับมือโควิดได้ดีที่สุดในโลก
ประเทศไทยครองอันดับที่ 1 ประเทศที่จัดการโรคระบาดดีที่สุดอันดับ 1 ของเอเชียและเป็นอันดับ 6 ของโลก
ประเทศไทยจัดเป็นประเทศที่กำลังพัฒนาที่จัดการโควิดได้ดีเป็นอันดับที่ 4 ของโลก
CNN ยกให้ไทยเป็น 1 ใน 4 ประเทศของโลก ที่ผู้นำประเทศและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข บริหารจัดการการแพร่ระบาดของโควิดได้ดีที่สุด
นายกรัฐมนตรี เคยกล่าวไว้ว่า“ที่ผ่านมาแม้ประเทศไทยจะเจอกับเรื่องวิกฤติซ้อนวิกฤติ ไม่ว่าจะจากโรคโควิด-19 ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน รวมถึงเกิดความแตกแยก ทางความคิดมากมายแค่ไหนก็ตาม รัฐบาลก็ยังเดินหน้าพัฒนาประเทศ อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านต่างๆ โครงการ EEC และการศึกษาด้วย”
อ่าน.
https://www.thaipost.net/politics-news/215834/
15 ผลงานรัฐบาลประยุทธ์
•2 EEC โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อเป็นพื้นที่การลงทุนและแหล่งบ่มเพาะ 12 อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ
•3 EECi พัฒนาเมืองแห่งนวัตกรรม หรือเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ให้เป็น “ซิลิคอนวัลเลย์”“เมืองใหม่อัจฉริยะด้วยนวัตกรรมของเมืองไทย
•4 EECd เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล
•5 5G โครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล ครอบคลุมถึงการพัฒนาเทคโนโลยี 5G ทั่วประเทศ เพื่อเปลี่ยนผ่านสู่โลกดิจิทัล โดยในปี 2564 ความเร็วเฉลี่ยอินเตอร์เน็ตบ้านของไทย ที่ 308 ล้านบิทต่อวินาที (Mbps) ถือว่าแรงเป็นอันดับ 1 ของโลก
•6 Digital Government การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยมุ่งเป้าการเปลี่ยนแปลงสู่”รัฐบาลดิจิทัล” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของภาครัฐ โครงการเน็ตหมู่บ้าน 74,987 หมู่บ้าน ทั้งประเทศ โครงการสายเคเบิ้ลใต้น้ำ การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยมุ่งเป้าการเปลี่ยนแปลงสู่รัฐบาลดิจิทัล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการของภาครัฐ
•7 Prompt Pay พัฒนาระบบ “พร้อมเพย์” เพื่อสนับสนุนการชำระเงินและโอนเงินแบบทันที พัฒนาระบบพอร์ทัลกลางเพื่อประชาชน (Citizen Portal) เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ในการติดต่อขอรับบริการผ่านช่องทางออนไลน์
•8 Transport Infrastructure โครงสร้างพื้นฐานคมนาคม เตรียมความพร้อมการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานคมนาคม โดยได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง เกิดการลงทุนจริง ที่มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยของ การลงทุนของภาครัฐ ในช่วงปี 2558 – 2562 ถึง 7.9% ต่อปี ได้แก่
•9 ทางถนน : จากปี 2557 มี 4,271 กิโลเมตร และปี 2564 เพิ่มเป็น 11,583 กิโลเมตร มอเตอร์เวย์ : สร้างเพิ่ม 3 เส้นทางสำคัญ บางปะอิน-โคราช บางใหญ่-กาญจนบุรี และพัทยา-มาบตาพุด
•10 ทางราง : จากปี 2557 ระยะทาง 4,073 กิโลเมตร ปัจจุบันมีแผนสร้างเพิ่ม ระยะเวลา 20 ปี จะมีระยะทาง 8,900 กิโลเมตร ครอบคลุม 62 จังหวัด เป็นทางคู่-ทางสาม 5,640 กิโลเมตร และสถานีสถานีกลางบางซื่อ เป็นชุมทางรถไฟขนาดใหญ่ ทันสมัยที่สุดในอาเซียน
สร้างเพิ่ม 10 สาย ระยะทางรวม 204.9 กิโลเมตร อยู่ระหว่างการพิจารณาอีก 2 สาย
นอกจากนี้ ยังมีรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน และรถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน ที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
•11 ทางน้ำ : เพิ่มศักยภาพรองรับปริมาณการขนส่งทางน้ำ จากเดิมปี 2557 ประมาณ 279 ล้านตัน ในปี 2564 เพิ่มเป็น 355 ล้านตัน โดยพัฒนาท่าเรือมาบตาพุด และท่าเรือแหลมฉบัง เปิดเดินเรือเฟอร์รี่พัทยา-หัวหิน ใช้เวลา 2 ชั่วโมง เชื่อมแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ กระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ปีละ 4,000 ล้านบาท
•12 ทางอากาศ : ปรับปรุงสนามบินทั่วประเทศ เพิ่มศักยภาพการรองรับผู้โดยสาร จากเดิมปี 57 รองรับ 118 ล้านคน ปี 64 เพิ่มเป็น 139 ล้านคน
•13 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ โดยจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี เพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วม-น้ำแล้ง และเตรียมน้ำต้นทุน สำหรับภาคการผลิต ทั้งเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ผลลัพธ์ที่ได้รับตั้งแต่ปี 2560 จนถึงปัจจุบัน ได้แก่ เพิ่มการกักเก็บน้ำรวม 1,452 ล้าน ลบ.ม. พัฒนาน้ำบาดาลเพื่อการเกษตร 124 ล้าน ลบ.ม. ลดพื้นที่ประสบภัยแล้งลงอย่างต่อเนื่อง จาก 36,944 หมู่บ้าน ในปี 2556 และในปี 2564/65 ไม่มีประกาศภัยแล้ง
•14 การแสวงหาความร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อเป็นแรงเสริมในการขับเคลื่อน EEC ผลลัพธ์ที่จับต้องได้เช่น การฟื้นความสัมพันธ์ไทย-ซาอุดีอาระเบีย หลังจากห่างหายมากว่า 30 ปีความร่วมมือ ไทย-ญี่ปุ่น เช่น การผลักดันให้ไทยเป็นผู้นำอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าในภูมิภาคและเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าอันดับต้นๆ ของโลก หรือการร่วมประชุมสุดยอดอาเซียน-สหรัฐฯ ซึ่งมีเวทีการหารือความร่วมมือ ทั้งแบบหุภาคีและทวิภาคี ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในเรื่องต่าง ๆ
•15 ผลงานการแก้ปัญหาวิกฤติโรคระบาดโควิด-19 ซึ่งคนไทยกลุ่มคนที่มีอคติโจมตีรัฐบาลอย่างไม่ลืมหูลืมตา ในขณะที่รัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของไทย ได้ความคำชื่นชมจากนานาชาติทั่วโลก ได้แก่ ยกให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความมั่นคงทางสุขภาพเป็นอันดับที่ 5 ของโลก และเป็นอันดับที่ 1 ของเอเชีย จาก GHS 2021
ประเทศไทยครองอันดับที่ 1 ประเทศที่ฟื้นตัวและรับมือโควิดได้ดีที่สุดในโลก
ประเทศไทยครองอันดับที่ 1 ประเทศที่จัดการโรคระบาดดีที่สุดอันดับ 1 ของเอเชียและเป็นอันดับ 6 ของโลก
ประเทศไทยจัดเป็นประเทศที่กำลังพัฒนาที่จัดการโควิดได้ดีเป็นอันดับที่ 4 ของโลก
CNN ยกให้ไทยเป็น 1 ใน 4 ประเทศของโลก ที่ผู้นำประเทศและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข บริหารจัดการการแพร่ระบาดของโควิดได้ดีที่สุด
นายกรัฐมนตรี เคยกล่าวไว้ว่า“ที่ผ่านมาแม้ประเทศไทยจะเจอกับเรื่องวิกฤติซ้อนวิกฤติ ไม่ว่าจะจากโรคโควิด-19 ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน รวมถึงเกิดความแตกแยก ทางความคิดมากมายแค่ไหนก็ตาม รัฐบาลก็ยังเดินหน้าพัฒนาประเทศ อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านต่างๆ โครงการ EEC และการศึกษาด้วย”
อ่าน. https://www.thaipost.net/politics-news/215834/