https://84000.org/tipitaka/pitaka2/
-----
https://84000.org/tipitaka/pitaka2/
--------------
https://84000.org/tipitaka/read/?19/1305-1347
--
เนื้อหาท่อนนี้ตามภาพ
-----
มีพระอรรถกถาจารย์อธิบายที่นี่
https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=19&i=1305
----
----
https://www.facebook.com/W.Indhasara/photos/a.168464973343346/343998349123340/?paipv=0&eav=AfbTRJTrY1YdoqdSzC5TXB3Nl4-X7BzPc5NVa8_zbTl670TPvA-Dv65J6qhEppF-c80&_rdr
#สาระสำคัญแห่งวิสุทธิมรรค
#ปริจเฉทที่๘ #อนุสสติกรรมฐานนิทเทส
๙.#อานาปานสติ ตอนที่ ๒ #เสนาสนะ
ท่านแสดงไว้ว่า เสนาสนะที่เหมาะสม
ในการเจริญอานาปานสติสมาธิภาวนา
คือ ป่า หรือโคนไม้ หรือสถานที่ซึ่งไม่มีบ้านเรือนตั้งอยู่
(สุญญาคาร = สถานที่ซึ่งมีเรือนว่าง
หมายความว่าไม่มีบ้านเรือนตั้งอยู่
อาจจะเป็นทุ่งโล่งหรือบนภูเขา เป็นต้น)
อานาปานสติสมาธิภาวนาทำให้เกิดได้ยาก
ในที่ชุมนุมชน ทั้งนี้เพราะเสียงเป็นเสี้ยนหนามของฌาน
เมื่อได้สถานที่เหมาะสมแล้ว
ผู้บำเพ็ญเพียรพึงนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายให้ตรง
ดำรงสติไว้ให้มั่น เอาเชือกคือสติผูกไว้กับเสา
คือลมหายใจเข้า-ออก มัดลูกโคคือจิต
เมื่อจิตถูกมัดด้วยเชือกคือสติผูกไว้กับเสา
คือลมหายใจเข้า-ออก ทีแรกๆจะดิ้นรน แต่ถ้าเชือกไม่ขาด
ไม่นานนักจิตก็จะหมอบอยู่กับอารมณ์
คืออานาปานสตินั่นเอง
ภิกษุผู้อยู่ด้วยสติดังกล่าวนี้
ท่านเรียกว่า สโตการีบุคคล
ครั้งแรกๆ เมื่อกายและใจยังไม่สงบ
ลมหายใจจะหยาบ เหมือนคนที่วิ่งเหนื่อยหอบมา
ลมหายใจก็หยาบ แต่เมื่อกายและใจสงบลงตามลำดับ
ลมหายใจจะละเอียดเข้าทุกทีๆ
จนถึงกับสงสัยว่าลมหายใจจะมีหรือไม่มี
โดยเฉพาะลมหายใจเมื่อกำลังอยู่ในฌาน
เป็นลมหายใจที่ละเอียดมาก
#อาจารย์วศิน อินทสระ
พระอรรถกถาจารย์อธิบายที่นี่
https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=282
-----
กลับไปอ่านเนื้อความในพระไตรปิฎกจากหน้าพระอรรถกถาจารย์ ที่นี่
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=14&A=3924&Z=4181
------
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=14&A=3924&Z=4181
อานาปานสังยุต เอกธรรมวรรคที่ ๑ เอกธรรมสูตร ว่าด้วยอานาปานสติ
-----
https://84000.org/tipitaka/pitaka2/
--------------
https://84000.org/tipitaka/read/?19/1305-1347
--
เนื้อหาท่อนนี้ตามภาพ
-----
มีพระอรรถกถาจารย์อธิบายที่นี่ https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=19&i=1305
----
----
https://www.facebook.com/W.Indhasara/photos/a.168464973343346/343998349123340/?paipv=0&eav=AfbTRJTrY1YdoqdSzC5TXB3Nl4-X7BzPc5NVa8_zbTl670TPvA-Dv65J6qhEppF-c80&_rdr
#สาระสำคัญแห่งวิสุทธิมรรค
#ปริจเฉทที่๘ #อนุสสติกรรมฐานนิทเทส
๙.#อานาปานสติ ตอนที่ ๒ #เสนาสนะ
ท่านแสดงไว้ว่า เสนาสนะที่เหมาะสม
ในการเจริญอานาปานสติสมาธิภาวนา
คือ ป่า หรือโคนไม้ หรือสถานที่ซึ่งไม่มีบ้านเรือนตั้งอยู่
(สุญญาคาร = สถานที่ซึ่งมีเรือนว่าง
หมายความว่าไม่มีบ้านเรือนตั้งอยู่
อาจจะเป็นทุ่งโล่งหรือบนภูเขา เป็นต้น)
อานาปานสติสมาธิภาวนาทำให้เกิดได้ยาก
ในที่ชุมนุมชน ทั้งนี้เพราะเสียงเป็นเสี้ยนหนามของฌาน
เมื่อได้สถานที่เหมาะสมแล้ว
ผู้บำเพ็ญเพียรพึงนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายให้ตรง
ดำรงสติไว้ให้มั่น เอาเชือกคือสติผูกไว้กับเสา
คือลมหายใจเข้า-ออก มัดลูกโคคือจิต
เมื่อจิตถูกมัดด้วยเชือกคือสติผูกไว้กับเสา
คือลมหายใจเข้า-ออก ทีแรกๆจะดิ้นรน แต่ถ้าเชือกไม่ขาด
ไม่นานนักจิตก็จะหมอบอยู่กับอารมณ์
คืออานาปานสตินั่นเอง
ภิกษุผู้อยู่ด้วยสติดังกล่าวนี้
ท่านเรียกว่า สโตการีบุคคล
ครั้งแรกๆ เมื่อกายและใจยังไม่สงบ
ลมหายใจจะหยาบ เหมือนคนที่วิ่งเหนื่อยหอบมา
ลมหายใจก็หยาบ แต่เมื่อกายและใจสงบลงตามลำดับ
ลมหายใจจะละเอียดเข้าทุกทีๆ
จนถึงกับสงสัยว่าลมหายใจจะมีหรือไม่มี
โดยเฉพาะลมหายใจเมื่อกำลังอยู่ในฌาน
เป็นลมหายใจที่ละเอียดมาก
#อาจารย์วศิน อินทสระ
พระอรรถกถาจารย์อธิบายที่นี่ https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=282
-----
กลับไปอ่านเนื้อความในพระไตรปิฎกจากหน้าพระอรรถกถาจารย์ ที่นี่ https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=14&A=3924&Z=4181
------
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=14&A=3924&Z=4181