ผมสงสัยเรื่องการเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ กับไอออนิกอะครับ คือจากสารประกอบไอออนิกบางตัว อาจเป็นธาตุหมู่ 4 จับ กับ หมู่ 7 แต่หมู่ 4 นั้นจริงๆแล้วไม่ใช่อโลหะแต่เป็นโลหะใต้ขั้นบันไดใช่ไหมครับ เราเลยไขว้ประจุของไอออนิกได้ ทั้งๆที่ถ้าดูเผินๆ เหมือน อโลหะ จับ อโลหะ
แต่สารประกอบโคเวนเลนต์ ด้วยความที่อะตอมกลางแขนเกินได้ มันเลยมีหลายสารประกอบที่เขียนได้หลายแบบ เช่น PCl3 PCl5. แต่ผมสงสัยว่าที่บางตัวที่โจทย์พูดชัดเจนว่าเป็นอโลหะ ทั้งคู่ ที่จริงแล้วมันสามารถไขว้ประจุแบบไอออนิกได้ไหมครับตอนเขียนสูตรโมเลกุล เช่น C กับ F แบบนี้อะครับ ก็ได้ CF4 ซึ่งเป็นผลมาจากการไขว้ประจุใช่ไหมครับ แล้วมันไขว้ประจุแบบนี้ได้ทุกตัวไหมครับ
แล้วแบบนี้ ไอ้ CF4 นี้ คือเป็นสารประกอบโคเวเลนต์ที่ดันไขว้ประจุได้ใช่ไหมครับ?? แล้วสมบัติมันยังเป็นสารประกอบโคเวเลนต์อยู่ใช่ไหมครับ
เพราะมันมีเรื่องการแตกตัวแล้วนำไฟฟ้าอะครับ เพราะถ้าถ้าโคเวเลนต์ ( ถ้าอโลหะ 2 ตัวที่โจทย์ให้มาสามารถไขว้ประจุ เขียนสูตรโมเลกุลได้) มันก็จะทำให้หาขั้วพันธะ ขั้วโมเลกุลได้อะครับ ผลเรื่องการที่เมื่อโคเวเลนต์ตัวนั้น มีขั้ว > ละลายนำ้ = แตกตัว > เลยนำไฟฟ้าได้
ซึ่งเหมือนไอออนิกที่ถ้าโจทย์บอกว่าละลายนำ้ได้ ก็จะนำไฟฟ้าได้อะครับ เช่นโจทย์แบบนี้ครับ
-----สมมุติ โจทย์ ให้ ธาตุ สมมุติ A กับ B มา ละเราดันไปหาได้ว่า A คือ O( oxygen) ส่วน B คือ Cl (คลอลีน) ละถามว่า สารประกอบ ของ A กับ B จะนำไฟฟ้าได้เมื่อหลอมเหลวถูกหรือผิด----- ( คำถามนี้เป็นคำถามจาก choice มา แต่ choice ข้อนี้เป็น choice ที่ผิด)
อย่างงี้ถ้าไขว้ประจุได้ละยังเป็นโคเวเลนต์ ผมก็สามารถหาขั้วพันธะ ขั้วโมเลกุล การละลายได้เลย แต่กลับกันถ้าไขว้ไม่ได้เราก็จะไม่รู้รูปร่าง ขั้วโมเลกุล ข้อนี้ก็จะไม่สามารถหาได้
รบกวนด้วยครับ อันนี้เป็นความรู้เด็ก ม.ปลายครับ คำถามสอบเข้ามหาลัย , 9 สามัญ ไรพวกนี้ครับ
ผมสงสัยคำถามข้อสอบเคมี ม.6 สอบเข้ามหาวิทยาลัยครับ
แต่สารประกอบโคเวนเลนต์ ด้วยความที่อะตอมกลางแขนเกินได้ มันเลยมีหลายสารประกอบที่เขียนได้หลายแบบ เช่น PCl3 PCl5. แต่ผมสงสัยว่าที่บางตัวที่โจทย์พูดชัดเจนว่าเป็นอโลหะ ทั้งคู่ ที่จริงแล้วมันสามารถไขว้ประจุแบบไอออนิกได้ไหมครับตอนเขียนสูตรโมเลกุล เช่น C กับ F แบบนี้อะครับ ก็ได้ CF4 ซึ่งเป็นผลมาจากการไขว้ประจุใช่ไหมครับ แล้วมันไขว้ประจุแบบนี้ได้ทุกตัวไหมครับ
แล้วแบบนี้ ไอ้ CF4 นี้ คือเป็นสารประกอบโคเวเลนต์ที่ดันไขว้ประจุได้ใช่ไหมครับ?? แล้วสมบัติมันยังเป็นสารประกอบโคเวเลนต์อยู่ใช่ไหมครับ
เพราะมันมีเรื่องการแตกตัวแล้วนำไฟฟ้าอะครับ เพราะถ้าถ้าโคเวเลนต์ ( ถ้าอโลหะ 2 ตัวที่โจทย์ให้มาสามารถไขว้ประจุ เขียนสูตรโมเลกุลได้) มันก็จะทำให้หาขั้วพันธะ ขั้วโมเลกุลได้อะครับ ผลเรื่องการที่เมื่อโคเวเลนต์ตัวนั้น มีขั้ว > ละลายนำ้ = แตกตัว > เลยนำไฟฟ้าได้
ซึ่งเหมือนไอออนิกที่ถ้าโจทย์บอกว่าละลายนำ้ได้ ก็จะนำไฟฟ้าได้อะครับ เช่นโจทย์แบบนี้ครับ
-----สมมุติ โจทย์ ให้ ธาตุ สมมุติ A กับ B มา ละเราดันไปหาได้ว่า A คือ O( oxygen) ส่วน B คือ Cl (คลอลีน) ละถามว่า สารประกอบ ของ A กับ B จะนำไฟฟ้าได้เมื่อหลอมเหลวถูกหรือผิด----- ( คำถามนี้เป็นคำถามจาก choice มา แต่ choice ข้อนี้เป็น choice ที่ผิด)
อย่างงี้ถ้าไขว้ประจุได้ละยังเป็นโคเวเลนต์ ผมก็สามารถหาขั้วพันธะ ขั้วโมเลกุล การละลายได้เลย แต่กลับกันถ้าไขว้ไม่ได้เราก็จะไม่รู้รูปร่าง ขั้วโมเลกุล ข้อนี้ก็จะไม่สามารถหาได้
รบกวนด้วยครับ อันนี้เป็นความรู้เด็ก ม.ปลายครับ คำถามสอบเข้ามหาลัย , 9 สามัญ ไรพวกนี้ครับ