.
.
มุมมองฝูงผึ้ง
© Andreas Häuslbetz /Alamy Stock Photo
.
.
ฝูงผึ้งอาจเปลี่ยนสภาพ
ภูมิอากาศ
ฝูงผึ้งสามารถทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตในอากาศ
ได้มากถึง 1,000 โวลต์/ตารางเมตร
หรือมากกว่านั้นยามพายุฝนฟ้าคะนอง
ผึ้งตัวหนึ่งจะผลิตกระแสไฟฟ้าสถิตได้มาก
จนอาจส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศในท้องถิ่น
งานวิจัยชิ้นใหม่เพิ่งค้นพบ
โดยนักวิจัยทำการวัดสนามไฟฟ้าสถิต
รอบ ๆ รังผึ้ง
Apis mellifera แล้วค้นพบว่า
ผึ้งสามารถผลิตไฟฟ้าสถิต
ในบรรยากาศได้เท่ากับพายุฝนฟ้าคะนอง
เรื่องสำคัญเช่นนี้จะมีบทบาทสำคัญมาก
ในการศึกษาการขับเคลื่อน/ผลักดันฝุ่นละออง
เพื่อสร้างรูปแบบสภาพภูมิอากาศ
ที่คาดเดา/คาดคะเนไม่ได้ง่ายนัก
และผลกระทบจากเรื่องนี้
อาจต้องรวมไว้ในแบบจำลอง
สภาพภูมิอากาศในอนาคตด้วย
ร่างกายเล็ก ๆ พวกผึ้งจะรับประจุบวกได้
ในขณะที่พวกผึ้งหาน้ำผึ้ง เกสรดอกไม้
จากการเสียดสีของโมเลกุลในอากาศกับปีก
ที่ต้องกระพือปีกอย่างรวดเร็วในแต่ละครั้ง
(ผึ้งจะกระพือปีกได้มากกว่า 230 ครั้ง/วินาที
ตอนที่กำลังบินอยู่เหนือพื้นดิน/เหนืออาหาร)
แม้ว่าก่อนหน้านี้ จะมีนักวิจัยค้นพบเรื่องนี้
แต่ก็คิดว่ามีผลกระทบเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ
แต่ผลการศึกษาครั้งใหม่นี้
ที่เผยแพร่ในวันที่ 24 ตุลาคม 2022
ในวารสาร
iScience
แสดงให้เห็นว่าพวกผึ้งสามารถสร้าง
กระแสไฟฟ้าสถิตได้ในปริมาณที่น่าตกใจ
.
.
.
.
.
.
.
.
.
ผลกระทบของฝูงตั๊กแตนจำนวนมาก
ต่อสภาพภาวะภูมิอากาศ
และความสำคัญของฝูงแมลง
เมื่อเปรียบเทียบกับสภาพอากาศ
.
.
" เมื่อเร็ว ๆ นี้ เราเพิ่งค้นพบว่า
ชีววิทยาและสนามไฟฟ้าสถิตย์
มีการเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด
และยังมีการเชื่อมโยงต่าง ๆ
ที่ยังมีข้อสงสัยอยู่มากมาย
ที่ไม่สามารถอธิบายหรือยืนยัน
ด้วยเครื่องมือตรวจวัด/ตรวจจับ
ในเชิงพื้นที่ที่แตกต่างกัน
ตั้งแต่จุลินทรีย์ในดินและพืช
ปฏิกิริยาของแมลงผสมเกสร
กับฝูงแมลงและไฟฟ้าสถิตทั่วโลก "
Ellard Hunting นักชีววิทยา
ที่ University of Bristol
ให้สัมภาษณ์กับ Live Science
ไฟฟ้าสถิตจะเกิดขึ้นได้
เมื่อพื้นผิว/หลุมของวัสดุที่เล็กมาก
จนมองด้วยตาเปล่าแทบไม่เห็น
ถูกันไปมาหรือเกิดการเสียดสีกัน
ทำให้อิเล็กตรอนซึ่งมีประจุเป็นลบ
กระโดดจากพื้นผิวหนึ่งไปยังอีกพื้นผิวหนึ่ง
โดยปล่อยให้พื้นผิวหนึ่งมีประจุบวก
ในขณะที่อีกพื้นผิวหนึ่งมีประจุลบ
การถ่ายโอนผ่านกันระหว่างพื้นผิว
จะแตกตัวเป็นไอออนทั้งสอง
ทำให้เกิดความแตกต่างของแรงดันไฟฟ้า
ซึ่งประจุอาจกระโดดไปมาได้ (เกิดการชอร์ต)
ทำให้คนตกใจได้ เมื่อสัมผัสลูกบิดประตู
หลังจากเดินผ่านพรม (มักเจอในเมืองหนาว)
ทั้งยังทำให้เกิดฟ้าแลบ
อันเป็นผลมาจากแรงเสียดทาน
ของก้อนน้ำแข็งภายในก้อนเมฆ
ตามตำนานเล่าว่า ปรากฏการณ์นี้
ผ่านการทดลองจาก
Benjamin Franklin
เมื่อท่านและลูกชายเล่นว่าว
ในช่วงพายุฝนฟ้าคะนอง
แล้วสังเกตพบว่า สายเชือกเปียกของว่าว
ทำให้เกิดประกายไฟจากพายุเมฆได้
ทั้งยังนำไฟฟ้าลงมาสู่ด้านล่างได้
ผลการทดลองชิ้นนี้
นำมาสู่การผลิตสายล่อฟ้า
เพื่อป้องกันภัยพิบัติอาคารสูง
ที่อาจเกิดอันตรายจากฟ้าผ่าได้
แต่ไม่อาจป้องกันอุปกรณ์ไฟฟ้า
จาก
ไฟกระชากจากฟ้าผ่า
ทำให้หลายโรงงาน ครัวเรือน
ต้องสูญเสียอุปกรณ์ไฟฟ้าไป
จำนวนมากมายหลายชันในแต่ละปี
เครื่อง PC ของจขกท. ก็สู่ขิด
เพราะไฟกระชากจากฟ้าผ่า
คนแก่ ๆ ในอดีตจึงมักเตือนลูกหลานว่า
ฝนตกฟ้าผ่าฟ้าคะนอง
อย่าเปิดวิทยุ โทรทัศน์ ที่ใช้ไฟฟ้า
ให้ดึงปลั๊กไฟฟ้าออกจะปลอดภัยที่สุด
.
.
.
เบนจามิน แฟรงคลิน
หนึ่งในบิดาผู้สร้างชาติของสหรัฐอเมริกา
เคยทำงานเป็น ช่างพิมพ์ คนเรียงพิมพ์ นักเขียน
นักปรัชญา นักการเมือง นักวิทยาศาสตร์
นักประดิษฐ์ นักปฏิรูป และนักการทูต
เป็นบุคคลสำคัญในยุคเรืองปัญญา USA
.
.
.
.
.
.
.
สายล่อฟ้า โหน่ง-เมย์
กับเพลงในตำนาน ฉันอยู่ตรงนี้
(ภาพยนต์เรื่องที่ จขกท. ชอบมาก)
.
.
ผลกระทบจาก
ไฟฟ้าสถิต
ที่เกิดขึ้นทั่วโลกจากผลงานพวกฝูงผึ้ง
ที่มาหาน้ำผึ้ง/เกสรดอกไม้ไปเลี้ยงตัวอ่อน
ทั้งยังช่วยให้แมงมุมผลิตใยที่มีประจุลบ
ซึ่งดึงดูด/ดักจับเหยื่อที่ลำตัวมีประจุบวก
เมื่อทำการทดสอบว่า จริงหรือไม่
ฝูงผึ้งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก
ในสนามไฟฟ้าสถิตของบรรยากาศของโลก
นักวิจัยได้วางเครื่องตรวจวัดสนามไฟฟ้า/กล้อง
ไว้ใกล้ ๆ กับบริเวณที่มีรังผึ้งหลายแห่ง
ในช่วง 3 นาทีแรก ที่ฝูงผึ้งบินลอยอยุ่ในอากาศ
นักวิจัยพบว่า สนามไฟฟ้าสถิตเริ่มไล่ระดับ
เพิ่มขึ้นเป็น 100 โวลต์/ตารางเมตร
เหตุการณ์ดังกล่าวนี้
ผลรวมจากกลุ่มอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่เดียวกัน
นักวิทยาศาสตร์วัดผลได้
ในอัตราที่สูงถึง 1,000 โวลต์ต่อตารางเมตร
ทำให้ความหนาแน่นของประจุไฟฟ้าสถิต
ของฝูงผึ้งขนาดใหญ่ประมาณ 6 เท่า
ซึ่งมากกว่าพายุฝุ่นที่เกิดไฟฟ้า
และเกิดมีพายุมากกว่าถึง 8 เท่า
นักวิทยาศาสตร์ยังค้นพบว่า
แมลงที่มีความหนาแน่นมากเหมือนกลุ่มเมฆ
นั่นหมายถึง สนามไฟฟ้าสถิตที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
จากการสังเกตการณ์เรื่องนี้
ช่วยให้จำลองกลุ่มแมลงอื่น ๆ
เช่น ฝูงตั๊กแตน และฝูงผีเสื้อ
นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่า
ฝูงตั๊กแตนมักรวมตัวกันเป็น
Biblical scales จำนวนมากมาย
ถ้าของสยามก็ พวกโจร 500 500 เล่มเกวียน
ฝูงตั๊กแตนรวมกันคล้ายก้อนเมฆหนา
ขนาด 460 ตารางไมล์ (1,191 ตารางกม.)
และมีตั๊กแตนราว ๆ 80 ล้านตัว
ในพื้นที่น้อยกว่าครึ่งกิโลเมตร
แบบจำลองดังกล่าวนี้ที่เกิดขึ้น
นักวิจัยคาดการณ์ว่า
ผลกระทบของฝูงตั๊กแตนต่อสนามไฟฟ้าสถิต
ในบรรยากาศรอบ ๆ เกิดการสั่นคลอน
ทำให้เกิดความหนาแน่นของประจุไฟฟ้าสถิต
คล้ายกับที่เกิดขึ้นจากพายุฝนฟ้าคะนอง
นักวิจัยกล่าวว่า
เรื่องนี้ไม่น่าเป็นไปได้ที่แมลงจะผลิตพายุเอง
แต่ถึงแม้การไล่ระดับไฟฟ้าสถิต
ที่พวกมันทำขึ้นมาจากการเสียดสี/กระพือปีก
จะไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ทำให้เกิดฟ้าผ่า
แต่พวกมันยังคงสร้างผลกระทบอื่น ๆ
ต่อสภาพภูมิอากาศรอบโลก
สนามไฟฟ้าสถิตในชั้นบรรยากาศ
ที่สามารถทำให้อนุภาคแตกตัวเป็น
ไอออนของฝุ่นละอองและสารมลพิษ
เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของ
ไอออนของฝุ่นละอองและสารมลพิษ
ไปในทิศทางที่คาดเดาไม่ได้
เพราะฝุ่นละอองมีผลต่อ
การกระจายแสงแดดได้
การรู้ว่าฝุ่นละอองเคลื่อนที่อย่างไร
และตกลงพื้นที่ใดได้บ้าง
จึงมีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจ
สภาพภูมิอากาศของแต่ละภูมิภาคได้
.
.
" Interdisciplinarity สหวิทยาการ
จึงเป็นเรื่องสำคัญและทรงคุณค่า
ในการหาคำตอบเรื่องเหล่านี้ได้
ประจุไฟฟ้าสถิตที่ดูเหมือนจะศึกษา
กันอยู่ในเรื่องฟิสิกส์เพียงอย่างเดียว
แต่เรื่องที่สำคัญคือ ต้องรู้ว่า
โลกธรรมชาติทั้งโลกมีกระแสไฟฟ้าสถิต
อยู่ในชั้นบรรยากาศอย่างไรบ่าง
การคิดให้กว้างขึ้น การเชื่อมโยง
ชีววิทยาและฟิสิกส์เข้าด้วยกัน
อาจช่วยแก้ปัญหาที่ทำให้งงงงงง
ได้อย่างมากมายตามมาได้
เช่น เหตุใดจึงพบอนุภาคฝุ่นขนาดใหญ่
ในที่ไกลมากจาก
ทะเลทรายซาฮารา Sahara "
Ellard Hunting กล่าวสรุป
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/3fhuvlA
.
.
ฝูงผึ้งอาจเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศ
.
มุมมองฝูงผึ้ง
© Andreas Häuslbetz /Alamy Stock Photo
.
.
ฝูงผึ้งสามารถทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตในอากาศ
ได้มากถึง 1,000 โวลต์/ตารางเมตร
หรือมากกว่านั้นยามพายุฝนฟ้าคะนอง
ผึ้งตัวหนึ่งจะผลิตกระแสไฟฟ้าสถิตได้มาก
จนอาจส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศในท้องถิ่น
งานวิจัยชิ้นใหม่เพิ่งค้นพบ
โดยนักวิจัยทำการวัดสนามไฟฟ้าสถิต
รอบ ๆ รังผึ้ง Apis mellifera แล้วค้นพบว่า
ผึ้งสามารถผลิตไฟฟ้าสถิต
ในบรรยากาศได้เท่ากับพายุฝนฟ้าคะนอง
เรื่องสำคัญเช่นนี้จะมีบทบาทสำคัญมาก
ในการศึกษาการขับเคลื่อน/ผลักดันฝุ่นละออง
เพื่อสร้างรูปแบบสภาพภูมิอากาศ
ที่คาดเดา/คาดคะเนไม่ได้ง่ายนัก
และผลกระทบจากเรื่องนี้
อาจต้องรวมไว้ในแบบจำลอง
สภาพภูมิอากาศในอนาคตด้วย
ร่างกายเล็ก ๆ พวกผึ้งจะรับประจุบวกได้
ในขณะที่พวกผึ้งหาน้ำผึ้ง เกสรดอกไม้
จากการเสียดสีของโมเลกุลในอากาศกับปีก
ที่ต้องกระพือปีกอย่างรวดเร็วในแต่ละครั้ง
(ผึ้งจะกระพือปีกได้มากกว่า 230 ครั้ง/วินาที
ตอนที่กำลังบินอยู่เหนือพื้นดิน/เหนืออาหาร)
แม้ว่าก่อนหน้านี้ จะมีนักวิจัยค้นพบเรื่องนี้
แต่ก็คิดว่ามีผลกระทบเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ
แต่ผลการศึกษาครั้งใหม่นี้
ที่เผยแพร่ในวันที่ 24 ตุลาคม 2022
ในวารสาร iScience
แสดงให้เห็นว่าพวกผึ้งสามารถสร้าง
กระแสไฟฟ้าสถิตได้ในปริมาณที่น่าตกใจ
.
.
.
.
.
.
.
.
ผลกระทบของฝูงตั๊กแตนจำนวนมาก
ต่อสภาพภาวะภูมิอากาศ
และความสำคัญของฝูงแมลง
เมื่อเปรียบเทียบกับสภาพอากาศ
.
" เมื่อเร็ว ๆ นี้ เราเพิ่งค้นพบว่า
ชีววิทยาและสนามไฟฟ้าสถิตย์
มีการเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด
และยังมีการเชื่อมโยงต่าง ๆ
ที่ยังมีข้อสงสัยอยู่มากมาย
ที่ไม่สามารถอธิบายหรือยืนยัน
ด้วยเครื่องมือตรวจวัด/ตรวจจับ
ในเชิงพื้นที่ที่แตกต่างกัน
ตั้งแต่จุลินทรีย์ในดินและพืช
ปฏิกิริยาของแมลงผสมเกสร
กับฝูงแมลงและไฟฟ้าสถิตทั่วโลก "
Ellard Hunting นักชีววิทยา
ที่ University of Bristol
ให้สัมภาษณ์กับ Live Science
ไฟฟ้าสถิตจะเกิดขึ้นได้
เมื่อพื้นผิว/หลุมของวัสดุที่เล็กมาก
จนมองด้วยตาเปล่าแทบไม่เห็น
ถูกันไปมาหรือเกิดการเสียดสีกัน
ทำให้อิเล็กตรอนซึ่งมีประจุเป็นลบ
กระโดดจากพื้นผิวหนึ่งไปยังอีกพื้นผิวหนึ่ง
โดยปล่อยให้พื้นผิวหนึ่งมีประจุบวก
ในขณะที่อีกพื้นผิวหนึ่งมีประจุลบ
การถ่ายโอนผ่านกันระหว่างพื้นผิว
จะแตกตัวเป็นไอออนทั้งสอง
ทำให้เกิดความแตกต่างของแรงดันไฟฟ้า
ซึ่งประจุอาจกระโดดไปมาได้ (เกิดการชอร์ต)
ทำให้คนตกใจได้ เมื่อสัมผัสลูกบิดประตู
หลังจากเดินผ่านพรม (มักเจอในเมืองหนาว)
ทั้งยังทำให้เกิดฟ้าแลบ
อันเป็นผลมาจากแรงเสียดทาน
ของก้อนน้ำแข็งภายในก้อนเมฆ
ตามตำนานเล่าว่า ปรากฏการณ์นี้
ผ่านการทดลองจาก Benjamin Franklin
เมื่อท่านและลูกชายเล่นว่าว
ในช่วงพายุฝนฟ้าคะนอง
แล้วสังเกตพบว่า สายเชือกเปียกของว่าว
ทำให้เกิดประกายไฟจากพายุเมฆได้
ทั้งยังนำไฟฟ้าลงมาสู่ด้านล่างได้
ผลการทดลองชิ้นนี้
นำมาสู่การผลิตสายล่อฟ้า
เพื่อป้องกันภัยพิบัติอาคารสูง
ที่อาจเกิดอันตรายจากฟ้าผ่าได้
แต่ไม่อาจป้องกันอุปกรณ์ไฟฟ้า
จาก ไฟกระชากจากฟ้าผ่า
ทำให้หลายโรงงาน ครัวเรือน
ต้องสูญเสียอุปกรณ์ไฟฟ้าไป
จำนวนมากมายหลายชันในแต่ละปี
เครื่อง PC ของจขกท. ก็สู่ขิด
เพราะไฟกระชากจากฟ้าผ่า
คนแก่ ๆ ในอดีตจึงมักเตือนลูกหลานว่า
ฝนตกฟ้าผ่าฟ้าคะนอง
อย่าเปิดวิทยุ โทรทัศน์ ที่ใช้ไฟฟ้า
ให้ดึงปลั๊กไฟฟ้าออกจะปลอดภัยที่สุด
.
.
เบนจามิน แฟรงคลิน
หนึ่งในบิดาผู้สร้างชาติของสหรัฐอเมริกา
เคยทำงานเป็น ช่างพิมพ์ คนเรียงพิมพ์ นักเขียน
นักปรัชญา นักการเมือง นักวิทยาศาสตร์
นักประดิษฐ์ นักปฏิรูป และนักการทูต
เป็นบุคคลสำคัญในยุคเรืองปัญญา USA
.
.
.
.
.
.
.
สายล่อฟ้า โหน่ง-เมย์
กับเพลงในตำนาน ฉันอยู่ตรงนี้
(ภาพยนต์เรื่องที่ จขกท. ชอบมาก)
.
.
ผลกระทบจาก ไฟฟ้าสถิต
ที่เกิดขึ้นทั่วโลกจากผลงานพวกฝูงผึ้ง
ที่มาหาน้ำผึ้ง/เกสรดอกไม้ไปเลี้ยงตัวอ่อน
ทั้งยังช่วยให้แมงมุมผลิตใยที่มีประจุลบ
ซึ่งดึงดูด/ดักจับเหยื่อที่ลำตัวมีประจุบวก
เมื่อทำการทดสอบว่า จริงหรือไม่
ฝูงผึ้งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก
ในสนามไฟฟ้าสถิตของบรรยากาศของโลก
นักวิจัยได้วางเครื่องตรวจวัดสนามไฟฟ้า/กล้อง
ไว้ใกล้ ๆ กับบริเวณที่มีรังผึ้งหลายแห่ง
ในช่วง 3 นาทีแรก ที่ฝูงผึ้งบินลอยอยุ่ในอากาศ
นักวิจัยพบว่า สนามไฟฟ้าสถิตเริ่มไล่ระดับ
เพิ่มขึ้นเป็น 100 โวลต์/ตารางเมตร
เหตุการณ์ดังกล่าวนี้
ผลรวมจากกลุ่มอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่เดียวกัน
นักวิทยาศาสตร์วัดผลได้
ในอัตราที่สูงถึง 1,000 โวลต์ต่อตารางเมตร
ทำให้ความหนาแน่นของประจุไฟฟ้าสถิต
ของฝูงผึ้งขนาดใหญ่ประมาณ 6 เท่า
ซึ่งมากกว่าพายุฝุ่นที่เกิดไฟฟ้า
และเกิดมีพายุมากกว่าถึง 8 เท่า
นักวิทยาศาสตร์ยังค้นพบว่า
แมลงที่มีความหนาแน่นมากเหมือนกลุ่มเมฆ
นั่นหมายถึง สนามไฟฟ้าสถิตที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
จากการสังเกตการณ์เรื่องนี้
ช่วยให้จำลองกลุ่มแมลงอื่น ๆ
เช่น ฝูงตั๊กแตน และฝูงผีเสื้อ
นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่า
ฝูงตั๊กแตนมักรวมตัวกันเป็น
Biblical scales จำนวนมากมาย
ถ้าของสยามก็ พวกโจร 500 500 เล่มเกวียน
ฝูงตั๊กแตนรวมกันคล้ายก้อนเมฆหนา
ขนาด 460 ตารางไมล์ (1,191 ตารางกม.)
และมีตั๊กแตนราว ๆ 80 ล้านตัว
ในพื้นที่น้อยกว่าครึ่งกิโลเมตร
แบบจำลองดังกล่าวนี้ที่เกิดขึ้น
นักวิจัยคาดการณ์ว่า
ผลกระทบของฝูงตั๊กแตนต่อสนามไฟฟ้าสถิต
ในบรรยากาศรอบ ๆ เกิดการสั่นคลอน
ทำให้เกิดความหนาแน่นของประจุไฟฟ้าสถิต
คล้ายกับที่เกิดขึ้นจากพายุฝนฟ้าคะนอง
นักวิจัยกล่าวว่า
เรื่องนี้ไม่น่าเป็นไปได้ที่แมลงจะผลิตพายุเอง
แต่ถึงแม้การไล่ระดับไฟฟ้าสถิต
ที่พวกมันทำขึ้นมาจากการเสียดสี/กระพือปีก
จะไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ทำให้เกิดฟ้าผ่า
แต่พวกมันยังคงสร้างผลกระทบอื่น ๆ
ต่อสภาพภูมิอากาศรอบโลก
สนามไฟฟ้าสถิตในชั้นบรรยากาศ
ที่สามารถทำให้อนุภาคแตกตัวเป็น
ไอออนของฝุ่นละอองและสารมลพิษ
เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของ
ไอออนของฝุ่นละอองและสารมลพิษ
ไปในทิศทางที่คาดเดาไม่ได้
เพราะฝุ่นละอองมีผลต่อ
การกระจายแสงแดดได้
การรู้ว่าฝุ่นละอองเคลื่อนที่อย่างไร
และตกลงพื้นที่ใดได้บ้าง
จึงมีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจ
สภาพภูมิอากาศของแต่ละภูมิภาคได้
.
.
" Interdisciplinarity สหวิทยาการ
จึงเป็นเรื่องสำคัญและทรงคุณค่า
ในการหาคำตอบเรื่องเหล่านี้ได้
ประจุไฟฟ้าสถิตที่ดูเหมือนจะศึกษา
กันอยู่ในเรื่องฟิสิกส์เพียงอย่างเดียว
แต่เรื่องที่สำคัญคือ ต้องรู้ว่า
โลกธรรมชาติทั้งโลกมีกระแสไฟฟ้าสถิต
อยู่ในชั้นบรรยากาศอย่างไรบ่าง
การคิดให้กว้างขึ้น การเชื่อมโยง
ชีววิทยาและฟิสิกส์เข้าด้วยกัน
อาจช่วยแก้ปัญหาที่ทำให้งงงงงง
ได้อย่างมากมายตามมาได้
เช่น เหตุใดจึงพบอนุภาคฝุ่นขนาดใหญ่
ในที่ไกลมากจาก ทะเลทรายซาฮารา Sahara "
Ellard Hunting กล่าวสรุป
.
เรียบเรียง/ที่มา
https://bit.ly/3fhuvlA
.
.