คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 6
เอาจากมุมที่จอนเข้าใจเทคโนโลยีนะครับ แต่บางทีข้อมูลเทคโนโลยีทางการทหารมันเป็นความลับหรือเฉพาะตัวของทางบริษัท ก็อาจจะยากหน่อยที่เราจะรู้ได้ว่ามีตัวเทคโนโลยีเหล่านั้นอยู่
แต่จากข้อมูลที่ประชาชนทั่วไปมีและในความเข้าใจของจอนที่เรียนก Basic มาในเรื่องสัญญาณอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยี 5G ที่ว่ามันคือสัญญาณไร้สายก็จริง แต่มันมีข้อจำกัดคือเรื่องของระยะทาง เพราะเสาแต่ละตัวก็ไม่ได้ส่งข้ามได้ไกลอะไรนัก
แล้วทำไมปัจจุบันเรายังสื่อสารระยะทางไกลได้? คำตอบก็คือเสาส่งสัญญาณนั่นแหละครับ
แต่การทำงานของมันคือ เมื่อจอนตั้ง IoT ต่างๆของฟาร์มไว้ที่ประเทศไทยและเชื่อม wifi ไว้ แล้วจอนไปเที่ยวต่างประเทศ จะเชื่อม 5G มาดูข้อมูลฟาร์มของจอน การส่งคำขอจะผ่านสัญญาณ 5G ไปที่เสา แล้วมันจะส่งคำขอนั้นต่อไปยังสาย lan ที่เขาเชื่อมกันข้ามมหาสมุทรไปเรื่อยๆ จนไปถึงฟาร์มของจอน แล้วส่งคำขอเป็นรูปแบบไร้สายไปยังอุปกรณ์ต่างๆ อุปกรณ์ต่างๆก็จะส่งกลับเป็นลำดับ ผ่านสาย lan และเสาสัญญาณส่งเข้ามือถือจอน ดังนั้นถ้าพื้นที่ที่จอนอยู่ไม่มีเสาสัญญาณ จอนก็อดดู
ทำไมโดรนถึงควบคุมระยะไกลได้?
โดรนควบคุมผ่านดาวเทียมที่อยู่บนท้องฟ้าครับ ทำให้กำหนดเส้นทางจาก GPS ได้ง่าย มันจึงบินไปที่ไหนก็ได้ ไม่มีสิ่งกีดขวางใดๆ
รถถังทำแบบนั้นได้หรือไม่?
ทำได้ครับ แต่...มันมีปัญหาคือเราไม่รู้ว่าเวลารถถังไปรบในป่า มีสภาพภูมิประเทศเป็นยังไง ในป่ามีต้นไม้ตรงไหนบ้าง และมีต้นไม้กี่ต้น หากเรากำหนดเส้นทางให้มันโดย GPS ดาวเทียมไม่ทราบข้อมูลต้นไม้ มันก็จะชนและติดแหง็กอยู่ตรงนั้นไปไหนไม่ได้นั่นแหละ
ทำไมรถยนต์ทั่วไปถึงทำระบบไร้คนขับได้?
ระบบไร้คนขับในปัจจุบันเองยังมีข้อจำกัดอยู่เลย คือหาคนปล่อยมือออกจากพวงมาลัยนาน เพราะมันอาจเกิดปัญหาขึ้นได้ รถพวกนี้มีเซ็นเซอร์รอบคัน ในกรณีที่เจอคน กรวย กำแพงหรืออะไรที่เซ็นเซอร์จับได้มันก็จะหยุด ส่วนเรื่องของการเดินทางก็ใช้ดาวเทียมเช่นกัน แต่ดาวเทียมเหล่านี้มีการเก็บข้อมูลเส้นทางมาก่อนแล้ว ยกตัวอย่างง่ายๆ เราที่ใช้ google map อยู่ทุกวันนี้ ไม่ได้เก็บจากดาวเทียมอย่างเดียว แต่เก็บจากภาคพื้นด้วย สังเกตดูบางทีทำทางใหม่แล้ว maps ยังไม่อัปเดท ดังนั้นถ้าจะใช้รถทางการทหาร คนทำระบบต้องไปสำรวจสนามรบก่อนแหละ ว่ามีทางตรงไหนไปได้บ้างในพื้นที่นั้นๆ
ในกรณีของเรือ
จอนมองว่าขนาดเรือ 1 ลำ ยังต้องมีช่างเทคนิคมากมาย มีหลายคนควบคุมส่วนต่างๆของเรือ เพื่อให้เรือแล่นไปยังเป้าหมายที่กำหนด แถมบางทีเป้าหมายไม่ได้อยู่ในระยะสายตา แต่อยู่ในระยะเรดาห์ ลองนึกสภาพ input output นะครับ นอกจากเรือจะต้องรับข้อมูลในการสั่งการของผู้ควบคุมแล้ว ยังต้องรับสัญญาณจากทะเลรอบตัวด้วย และมันต้องส่งสัญญาณออกไปหาข้อมูลใหม่เรื่อยๆ พร้อมกลับส่งข้อมูลไปที่ห้องควบคุมของจริงอีก เวลาจะสั่งยิงอาวุธทีต้องสั่งการหลายทอด อาจเกิดการดีเลย์ สู้คนจริงๆทำงานบนเรือไม่ได้
ลองนึกสภาพดูว่า เรดาห์ส่งสัญญาณค้นหาเรือบริเวณรอบๆ เจอแล้วส่งข้อมูลกลับไปที่ตัวส่งข้อมูล ตัวส่งข้อมูลส่งกลับห้องบัญชาการ ห้องบัญชาการส่งข้อมูลส่งยิงกลับไปที่ตัวรับบนเรือ ตัวรับส่งไปที่ตัวส่ง ส่งสัญญาณมาที่จรวดให้ยิงอะไร แล้วจรวดจะรู้ได้ยังไงว่าให้ยิงตัวไหน เพราะวินาทีที่ห้องบัญชาการได้ไป เรือลำนั้นอาจเคลื่อนตัวออกจากจุดใดจุดหนึ่งของค่า X Y Z แล้วก็ได้
ยังไม่นับรวมเรื่องของการซ่อมบำรุง ที่ต้องใช้คนจริงๆในการบำรุงรักษาต่าง และไหนจะเรื่องของการควบคุมเรือที่จะต้องดูแรงลมหรือคลื่นทะเลอีกด้วย น่าจะใช้งบประมาณสูงกว่าเรือธรรมดาหลายเท่า
ไม่นับรวมที่ว่าโดรนโดนแจมสัญญาณ มันก็ตกมาระเบิดเท่านั้น แต่รถถังและเรือโดนแจมไปมันยังเหลือหลักฐานและอาวุธอยู่ในเครื่อง นอกจากนี้ในเรื่องของการแฮ็ค โดรนมันบินตลอดเวลาและค่อนข้างเร็ว ทำให้มันหาช่องโหว่โจมตีได้ยาก แต่เรือกับรถเราอาจแจมสัญญาณเพื่อหยุดมันและมีเวลาหาช่องโหว่อีกเพียบ
ดังนั้นส่วนใหญ่เราจะเห็นเรือหรือรถทางการทหารใช้สัญญาณรูปแบบอื่นในการควบคุมระยะสั้นเสียส่วนมาก ไม่ค่อยมีระยะไกลแบบโดรนครับ และบางทีโดรนที่ไปที่ควบคุมได้ 1 กิโล แต่ในรถอาจจะสั้นเหลือไม่กี่ร้อยเมตร เพราะมีตัวบังสัญญาณเยอะกว่าบนฟากฟ้า
แต่จากข้อมูลที่ประชาชนทั่วไปมีและในความเข้าใจของจอนที่เรียนก Basic มาในเรื่องสัญญาณอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยี 5G ที่ว่ามันคือสัญญาณไร้สายก็จริง แต่มันมีข้อจำกัดคือเรื่องของระยะทาง เพราะเสาแต่ละตัวก็ไม่ได้ส่งข้ามได้ไกลอะไรนัก
แล้วทำไมปัจจุบันเรายังสื่อสารระยะทางไกลได้? คำตอบก็คือเสาส่งสัญญาณนั่นแหละครับ
แต่การทำงานของมันคือ เมื่อจอนตั้ง IoT ต่างๆของฟาร์มไว้ที่ประเทศไทยและเชื่อม wifi ไว้ แล้วจอนไปเที่ยวต่างประเทศ จะเชื่อม 5G มาดูข้อมูลฟาร์มของจอน การส่งคำขอจะผ่านสัญญาณ 5G ไปที่เสา แล้วมันจะส่งคำขอนั้นต่อไปยังสาย lan ที่เขาเชื่อมกันข้ามมหาสมุทรไปเรื่อยๆ จนไปถึงฟาร์มของจอน แล้วส่งคำขอเป็นรูปแบบไร้สายไปยังอุปกรณ์ต่างๆ อุปกรณ์ต่างๆก็จะส่งกลับเป็นลำดับ ผ่านสาย lan และเสาสัญญาณส่งเข้ามือถือจอน ดังนั้นถ้าพื้นที่ที่จอนอยู่ไม่มีเสาสัญญาณ จอนก็อดดู
ทำไมโดรนถึงควบคุมระยะไกลได้?
โดรนควบคุมผ่านดาวเทียมที่อยู่บนท้องฟ้าครับ ทำให้กำหนดเส้นทางจาก GPS ได้ง่าย มันจึงบินไปที่ไหนก็ได้ ไม่มีสิ่งกีดขวางใดๆ
รถถังทำแบบนั้นได้หรือไม่?
ทำได้ครับ แต่...มันมีปัญหาคือเราไม่รู้ว่าเวลารถถังไปรบในป่า มีสภาพภูมิประเทศเป็นยังไง ในป่ามีต้นไม้ตรงไหนบ้าง และมีต้นไม้กี่ต้น หากเรากำหนดเส้นทางให้มันโดย GPS ดาวเทียมไม่ทราบข้อมูลต้นไม้ มันก็จะชนและติดแหง็กอยู่ตรงนั้นไปไหนไม่ได้นั่นแหละ
ทำไมรถยนต์ทั่วไปถึงทำระบบไร้คนขับได้?
ระบบไร้คนขับในปัจจุบันเองยังมีข้อจำกัดอยู่เลย คือหาคนปล่อยมือออกจากพวงมาลัยนาน เพราะมันอาจเกิดปัญหาขึ้นได้ รถพวกนี้มีเซ็นเซอร์รอบคัน ในกรณีที่เจอคน กรวย กำแพงหรืออะไรที่เซ็นเซอร์จับได้มันก็จะหยุด ส่วนเรื่องของการเดินทางก็ใช้ดาวเทียมเช่นกัน แต่ดาวเทียมเหล่านี้มีการเก็บข้อมูลเส้นทางมาก่อนแล้ว ยกตัวอย่างง่ายๆ เราที่ใช้ google map อยู่ทุกวันนี้ ไม่ได้เก็บจากดาวเทียมอย่างเดียว แต่เก็บจากภาคพื้นด้วย สังเกตดูบางทีทำทางใหม่แล้ว maps ยังไม่อัปเดท ดังนั้นถ้าจะใช้รถทางการทหาร คนทำระบบต้องไปสำรวจสนามรบก่อนแหละ ว่ามีทางตรงไหนไปได้บ้างในพื้นที่นั้นๆ
ในกรณีของเรือ
จอนมองว่าขนาดเรือ 1 ลำ ยังต้องมีช่างเทคนิคมากมาย มีหลายคนควบคุมส่วนต่างๆของเรือ เพื่อให้เรือแล่นไปยังเป้าหมายที่กำหนด แถมบางทีเป้าหมายไม่ได้อยู่ในระยะสายตา แต่อยู่ในระยะเรดาห์ ลองนึกสภาพ input output นะครับ นอกจากเรือจะต้องรับข้อมูลในการสั่งการของผู้ควบคุมแล้ว ยังต้องรับสัญญาณจากทะเลรอบตัวด้วย และมันต้องส่งสัญญาณออกไปหาข้อมูลใหม่เรื่อยๆ พร้อมกลับส่งข้อมูลไปที่ห้องควบคุมของจริงอีก เวลาจะสั่งยิงอาวุธทีต้องสั่งการหลายทอด อาจเกิดการดีเลย์ สู้คนจริงๆทำงานบนเรือไม่ได้
ลองนึกสภาพดูว่า เรดาห์ส่งสัญญาณค้นหาเรือบริเวณรอบๆ เจอแล้วส่งข้อมูลกลับไปที่ตัวส่งข้อมูล ตัวส่งข้อมูลส่งกลับห้องบัญชาการ ห้องบัญชาการส่งข้อมูลส่งยิงกลับไปที่ตัวรับบนเรือ ตัวรับส่งไปที่ตัวส่ง ส่งสัญญาณมาที่จรวดให้ยิงอะไร แล้วจรวดจะรู้ได้ยังไงว่าให้ยิงตัวไหน เพราะวินาทีที่ห้องบัญชาการได้ไป เรือลำนั้นอาจเคลื่อนตัวออกจากจุดใดจุดหนึ่งของค่า X Y Z แล้วก็ได้
ยังไม่นับรวมเรื่องของการซ่อมบำรุง ที่ต้องใช้คนจริงๆในการบำรุงรักษาต่าง และไหนจะเรื่องของการควบคุมเรือที่จะต้องดูแรงลมหรือคลื่นทะเลอีกด้วย น่าจะใช้งบประมาณสูงกว่าเรือธรรมดาหลายเท่า
ไม่นับรวมที่ว่าโดรนโดนแจมสัญญาณ มันก็ตกมาระเบิดเท่านั้น แต่รถถังและเรือโดนแจมไปมันยังเหลือหลักฐานและอาวุธอยู่ในเครื่อง นอกจากนี้ในเรื่องของการแฮ็ค โดรนมันบินตลอดเวลาและค่อนข้างเร็ว ทำให้มันหาช่องโหว่โจมตีได้ยาก แต่เรือกับรถเราอาจแจมสัญญาณเพื่อหยุดมันและมีเวลาหาช่องโหว่อีกเพียบ
ดังนั้นส่วนใหญ่เราจะเห็นเรือหรือรถทางการทหารใช้สัญญาณรูปแบบอื่นในการควบคุมระยะสั้นเสียส่วนมาก ไม่ค่อยมีระยะไกลแบบโดรนครับ และบางทีโดรนที่ไปที่ควบคุมได้ 1 กิโล แต่ในรถอาจจะสั้นเหลือไม่กี่ร้อยเมตร เพราะมีตัวบังสัญญาณเยอะกว่าบนฟากฟ้า
แสดงความคิดเห็น
5G ก็มีนานแล้ว ทำไมระบบควบคุมรถยนต์ รถถัง ระยะไกล ยังไม่ค่อยเอามาใช้จริง
ก็ไม่เข้าใจเหมือนกันว่าทำไมต้อง ให้ทหารเข้าไปนั่งเสี่ยงภัยบนรถถัง รถยนต์ ทั้งๆ ที่เทคโนโลยีสื่อสาร
น่าจะใช้ควบคุมระยะไกลได้หมดแล้ว โดย remote รถเข้าไปในจุดอันตรายแทน