จากยุทธการบุกอิซูมคืนของยูเครนเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว ถูกจารึกไว้ในหน้าประวัติศาสตร์เรียบร้อยและเป็นตัวอย่างให้ศึกษากันต่อสำหรับสงครามยุคใหม่
บลิทซ์ครีค เป็นศัพย์ที่เยอรมันใช้ใน WW2 หมายถึงการรุกอย่างไม่ให้ตั้งตัว
เคยใช้ได้ผลในสงครามยุคใหม่เช่น สงคราม 6 วัน ยุทธการพายุทะเลทราย และเร็วๆนี้คือยุทธการเข้าตีฐานกำลังใหญ่อิซูมของรัสเซีย
หัวใจของการรุกคือการใช้รถถัง รถยานเกราะเข้าโจมตีอย่างรวดเร็ว
สิ่งที่จะทำให้ล้มเหลวได้คือ ศัตรูรู้ล่วงหน้าและตั้งแนวรับรออยู่แล้ว เช่นคราวที่รัสเซียบุกเคียฟ
ในครั้งนี้มีการรวมพลกันก่อนหน้านี้แล้ว 2 วัน ประกอบด้วยหลายกองพันโดยที่รัสเซียไม่รู้ตัว หรือรู้ตัวแต่ไม่สนใจ หรือ...
อย่างร้ายที่สุดคือ รู้แล้ว สนใจแล้ว แต่ทำอะไรไม่ได้แล้ว
โดนยูเครนหลอกว่าจะบุกเอาเคอร์ซันคือ รัสเซียรีบถ่ายโอนกำลังพลลงไปทางใต้
ยูเครนจัดการระเบิดสะพานข้ามไปเคอร์ซัน ทำให้ทหารรัสเซียติดอยู่ในเคอร์ซันร่วม 3 - 4 หมื่นคนกลับออกมาช่วยอิซูมไม่ได้
เปิดยุทธการด้วยการเข้าโจมตีแต่ไม่แตกตอนต้น แต่มีพื้นที่ให้รถถังและยานเกราะวิ่งออกออกไปได้ ปล่อยให้ทหารราบส่วนนึงรบต่อ
วิ่งไปหมู่บ้านข้างหน้าทำแบบเดียวกัน และต่อไป จนสุดพรมแดน
ทางด้านรัสเซียไม่เคยเตรียมการณ์รับมือไว้ก่อน แต่การถอยก็ควรถอยตามยุทธวิธีคือ ตั้งแนวรับรอไว้ ถอยไปหลังแนวรับ
แล้วไปตั้งรับอีกชั้น แล้วให้แนวรับแรกถอยไปตั้งแนวรับข้างหลังอีกในขณะที่ตนเองยันไว้ สิ่งเหล่านี้ไม่เกิดขึ้น
สิ่งที่เกิดขึ้นคือความโกลาหล ทหารที่ประจำอยู่ตามหมู่บ้าน วิทยุให้ฐานเข้ามารับ
ชาวบ้านแถบนั้นได้ยินการโต้ตอบประมาณว่า
มาเอากรูไปด้วย ส่งรถมารับด่วน
ฐานตอบกลับมา เอาตัวรอดกันเองนะ ตอนนี้ที่ฐานก็ยังหนีกันไม่ทัน
เสร็จแล้วทหารที่ถูกทิ้งก็ควักปืนขู่ขอกุญแจรถจากชาวบ้าน
บางรายบางหมู่บ้านหารถชาวบ้านไม่ได้ ขนาดปล้นเสื้อกับจักรยานชาวบ้านปั่นกลับพรมแดนตัวเองก็มี
เป็นตัวอย่างของการวางแผนอย่างชาญฉลาดและได้ตัวอย่างของความโง่เขลาทางยุทธการณ์ในคราวเดียวกัน
ตัวอย่างของ บลิทซ์ครีค การโจมตีสายฟ้าแลบ vs การถอยตามยุทธวิธี/การถอยแบบไร้ระเบียบ
บลิทซ์ครีค เป็นศัพย์ที่เยอรมันใช้ใน WW2 หมายถึงการรุกอย่างไม่ให้ตั้งตัว
เคยใช้ได้ผลในสงครามยุคใหม่เช่น สงคราม 6 วัน ยุทธการพายุทะเลทราย และเร็วๆนี้คือยุทธการเข้าตีฐานกำลังใหญ่อิซูมของรัสเซีย
หัวใจของการรุกคือการใช้รถถัง รถยานเกราะเข้าโจมตีอย่างรวดเร็ว
สิ่งที่จะทำให้ล้มเหลวได้คือ ศัตรูรู้ล่วงหน้าและตั้งแนวรับรออยู่แล้ว เช่นคราวที่รัสเซียบุกเคียฟ
ในครั้งนี้มีการรวมพลกันก่อนหน้านี้แล้ว 2 วัน ประกอบด้วยหลายกองพันโดยที่รัสเซียไม่รู้ตัว หรือรู้ตัวแต่ไม่สนใจ หรือ...
อย่างร้ายที่สุดคือ รู้แล้ว สนใจแล้ว แต่ทำอะไรไม่ได้แล้ว
โดนยูเครนหลอกว่าจะบุกเอาเคอร์ซันคือ รัสเซียรีบถ่ายโอนกำลังพลลงไปทางใต้
ยูเครนจัดการระเบิดสะพานข้ามไปเคอร์ซัน ทำให้ทหารรัสเซียติดอยู่ในเคอร์ซันร่วม 3 - 4 หมื่นคนกลับออกมาช่วยอิซูมไม่ได้
เปิดยุทธการด้วยการเข้าโจมตีแต่ไม่แตกตอนต้น แต่มีพื้นที่ให้รถถังและยานเกราะวิ่งออกออกไปได้ ปล่อยให้ทหารราบส่วนนึงรบต่อ
วิ่งไปหมู่บ้านข้างหน้าทำแบบเดียวกัน และต่อไป จนสุดพรมแดน
ทางด้านรัสเซียไม่เคยเตรียมการณ์รับมือไว้ก่อน แต่การถอยก็ควรถอยตามยุทธวิธีคือ ตั้งแนวรับรอไว้ ถอยไปหลังแนวรับ
แล้วไปตั้งรับอีกชั้น แล้วให้แนวรับแรกถอยไปตั้งแนวรับข้างหลังอีกในขณะที่ตนเองยันไว้ สิ่งเหล่านี้ไม่เกิดขึ้น
สิ่งที่เกิดขึ้นคือความโกลาหล ทหารที่ประจำอยู่ตามหมู่บ้าน วิทยุให้ฐานเข้ามารับ
ชาวบ้านแถบนั้นได้ยินการโต้ตอบประมาณว่า
มาเอากรูไปด้วย ส่งรถมารับด่วน
ฐานตอบกลับมา เอาตัวรอดกันเองนะ ตอนนี้ที่ฐานก็ยังหนีกันไม่ทัน
เสร็จแล้วทหารที่ถูกทิ้งก็ควักปืนขู่ขอกุญแจรถจากชาวบ้าน
บางรายบางหมู่บ้านหารถชาวบ้านไม่ได้ ขนาดปล้นเสื้อกับจักรยานชาวบ้านปั่นกลับพรมแดนตัวเองก็มี
เป็นตัวอย่างของการวางแผนอย่างชาญฉลาดและได้ตัวอย่างของความโง่เขลาทางยุทธการณ์ในคราวเดียวกัน