คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 4
รธน.ทั้ง 2 ฉบับมีเงื่อนไขต่างกันอยู่ครับ
ฉบับปี 50 ใช้คำว่า นายกรัฐมนตรีจะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินกว่าแปดปีมิได้
ฉบับปี 60 ใช้คำว่า นายกรัฐมนตรีจะดํารงตําแหน่งรวมกันแล้วเกินแปดปีมิได้
ฉบับปี 50 เว้นไปสมัยนึงก็กลับมาเป็นนายกฯ ได้ ดูเคสของปูตินก็ได้ลักษณะคล้ายกัน แค่ไม่ติดต่อกัน
แต่ไม่ว่าจะฉบับไหนก็เข้าเงื่อนไขทั้งหมด เพราะอยู่ในตำแหน่งมาตลอดจนถึงวันประกาศใช้ฉบับปี 60 ไม่มีช่วงรักษาการนายกฯ เป็นนายกฯ มาโดยตลอด อ.พรสันต์อธิบายดีนะ ที่โยงเอามาตรา 5 (หรือมาตรา 7 รธน.ฉบับปี 40) มาอธิบายความเพิ่ม ฝ่ายตรงข้ามคงพยายามหาคำอธิบายว่าให้เริ่มนับเมื่อรธน.ปี 60 ประกาศใช้ แต่ก็ติดประเด็นที่ไม่ยื่นบัญชีทรัพย์สินฯ แทนที่จะไปตาม 8 ปีจะกลายเป็นถูกถอดถอนออกจากตำแหน่งนะซิ
ฉบับปี 50 ใช้คำว่า นายกรัฐมนตรีจะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินกว่าแปดปีมิได้
ฉบับปี 60 ใช้คำว่า นายกรัฐมนตรีจะดํารงตําแหน่งรวมกันแล้วเกินแปดปีมิได้
ฉบับปี 50 เว้นไปสมัยนึงก็กลับมาเป็นนายกฯ ได้ ดูเคสของปูตินก็ได้ลักษณะคล้ายกัน แค่ไม่ติดต่อกัน
แต่ไม่ว่าจะฉบับไหนก็เข้าเงื่อนไขทั้งหมด เพราะอยู่ในตำแหน่งมาตลอดจนถึงวันประกาศใช้ฉบับปี 60 ไม่มีช่วงรักษาการนายกฯ เป็นนายกฯ มาโดยตลอด อ.พรสันต์อธิบายดีนะ ที่โยงเอามาตรา 5 (หรือมาตรา 7 รธน.ฉบับปี 40) มาอธิบายความเพิ่ม ฝ่ายตรงข้ามคงพยายามหาคำอธิบายว่าให้เริ่มนับเมื่อรธน.ปี 60 ประกาศใช้ แต่ก็ติดประเด็นที่ไม่ยื่นบัญชีทรัพย์สินฯ แทนที่จะไปตาม 8 ปีจะกลายเป็นถูกถอดถอนออกจากตำแหน่งนะซิ
แสดงความคิดเห็น
ผมเคยเข้าใจผิดคิดว่า "วาระ 8 ปี" มีบัญญัติเฉพาะรัฐธรรมนูญปี 60
https://www.matichon.co.th/politics/news_3538885
มุมมอง กม.‘พรสันต์’ ตัวช่วยฝ่ายค้านสู้คดี-บิ๊กตู่ 8 ปี หมายเหตุ - ความคิดเห็น (matichon.co.th)