สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 1
250 km/hr เทียบกับ 350 km/hr
1. ค่าก่อสร้างถูกกว่า
2. การบริโภคพลังงานน้อยกว่า
3. ราคาค่าตํ๋วโดยสารถูกกว่า เพราะค่าก่อสร้างถูกกว่า และ การบริโภคพลังงานน้อยกว่า
4. ราคา ตัวขบวนรถไฟถูกกว่า ส่งผลทำให้ ซื้อได้หลายขบวนกว่า ด้วยวงเงินเท่ากัน
สมมุติง่ายๆ วงเงินเท่ากัน 350 km/h ซื้อได้ 4 ขบวน , 250 km/h ซื้อได้ 6 ขบวน
5. เมื่อมี จำนวนขบวนรถไฟ มากกว่า ส่งผลต่อ ความถี่ของการให้บริการที่มากขึ้นด้วย
6. เมื่อราคาตั๋วรถไฟ และความถี่ของการให้บริการที่มากกว่า ส่งผลทำให้ ได้กำไรมาขึ้น และคืนทุนไว
แล้วเอาไปลงทุนก่อสร้างขยายการบริการได้ไวขึ้นด้วย
1. ค่าก่อสร้างถูกกว่า
2. การบริโภคพลังงานน้อยกว่า
3. ราคาค่าตํ๋วโดยสารถูกกว่า เพราะค่าก่อสร้างถูกกว่า และ การบริโภคพลังงานน้อยกว่า
4. ราคา ตัวขบวนรถไฟถูกกว่า ส่งผลทำให้ ซื้อได้หลายขบวนกว่า ด้วยวงเงินเท่ากัน
สมมุติง่ายๆ วงเงินเท่ากัน 350 km/h ซื้อได้ 4 ขบวน , 250 km/h ซื้อได้ 6 ขบวน
5. เมื่อมี จำนวนขบวนรถไฟ มากกว่า ส่งผลต่อ ความถี่ของการให้บริการที่มากขึ้นด้วย
6. เมื่อราคาตั๋วรถไฟ และความถี่ของการให้บริการที่มากกว่า ส่งผลทำให้ ได้กำไรมาขึ้น และคืนทุนไว
แล้วเอาไปลงทุนก่อสร้างขยายการบริการได้ไวขึ้นด้วย
ความคิดเห็นที่ 12
ลองมาดูการประเมินราคาค่าก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง 250 เทียบกับ 350 กม./ชม.
ข้อมูลจากเมืองจีนค่าก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง 60 สาย
250 kph ราคา 16.9 MM.USD/KM
350 kph ราคา 20.6 MM.USD/KM
สร้างจริง
1. กรุงเทพฯ-โคราช 250 kph ราคาโครงการ 180,000 ล้านบาท คิดเป็น 20.5 MM.USD/KM
2. จาการ์ตา-บันดุง 350 kph ราคาโครงการประเมิน 5500 MM.USD คิดเป็น 38.7 MM.USD/KM
แต่ค่าก่อสร้างบานปลายเป็น 7,900 MM.USD ราคาค่าก่อสร้างต่อหน่วยจึงเป็น 55.6 MM.USD/KM
ดังนั้นค่าก่สร้างรถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-โคราช หากเปลี่ยนมาเป็นความเร็ว 350 กม./ชม.
หากใช้ค่า 38.7 MM.USD/KM ก็จะคำนวณค่าก่อสร้างได้เป็น 343,000 ล้านบาท
ใช้งบเพิ่มขึ้น 343,000 - 180,000 เท่ากับ 163,000 ล้านบาท
หากงบบานปลายเหมือนโครงการจาการ์ตา-บันดุง คำนวณค่าก่อสร้างได้เป็น 492,000 ล้านบาท
เรื่องการประหยัดเวลา ของเดิมความเร็ว 250 วิ่งได้จริง เฉลี่ย 170 กม./ชม. ใช้เวลา 90 นาที
หากสร้างเป็น 350 kph บวกเพิ่มไปอีก 100 ให้วิ่งได้เฉลี่ย 270 กม./ชม. ใช้เวลา 56 นาที
ประหยัดเวลาได้ 34 นาที (ตามทฤษฎี) หากวิ่งจริง อาจประหยัดเวลาได้ประมาณ 25 นาที
แต่ใช้งบเพิ่มขึ้น 163,000 ล้านบาท และค่าตั๋วคงไม่ใช่แค่ 535 บาท คาดว่าจะกลายเป็นประมาณ 700 บาท
ข้อมูลจากเมืองจีนค่าก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง 60 สาย
250 kph ราคา 16.9 MM.USD/KM
350 kph ราคา 20.6 MM.USD/KM
สร้างจริง
1. กรุงเทพฯ-โคราช 250 kph ราคาโครงการ 180,000 ล้านบาท คิดเป็น 20.5 MM.USD/KM
2. จาการ์ตา-บันดุง 350 kph ราคาโครงการประเมิน 5500 MM.USD คิดเป็น 38.7 MM.USD/KM
แต่ค่าก่อสร้างบานปลายเป็น 7,900 MM.USD ราคาค่าก่อสร้างต่อหน่วยจึงเป็น 55.6 MM.USD/KM
ดังนั้นค่าก่สร้างรถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-โคราช หากเปลี่ยนมาเป็นความเร็ว 350 กม./ชม.
หากใช้ค่า 38.7 MM.USD/KM ก็จะคำนวณค่าก่อสร้างได้เป็น 343,000 ล้านบาท
ใช้งบเพิ่มขึ้น 343,000 - 180,000 เท่ากับ 163,000 ล้านบาท
หากงบบานปลายเหมือนโครงการจาการ์ตา-บันดุง คำนวณค่าก่อสร้างได้เป็น 492,000 ล้านบาท
เรื่องการประหยัดเวลา ของเดิมความเร็ว 250 วิ่งได้จริง เฉลี่ย 170 กม./ชม. ใช้เวลา 90 นาที
หากสร้างเป็น 350 kph บวกเพิ่มไปอีก 100 ให้วิ่งได้เฉลี่ย 270 กม./ชม. ใช้เวลา 56 นาที
ประหยัดเวลาได้ 34 นาที (ตามทฤษฎี) หากวิ่งจริง อาจประหยัดเวลาได้ประมาณ 25 นาที
แต่ใช้งบเพิ่มขึ้น 163,000 ล้านบาท และค่าตั๋วคงไม่ใช่แค่ 535 บาท คาดว่าจะกลายเป็นประมาณ 700 บาท
แสดงความคิดเห็น
ความเร็วแค่ 250 สำหรับรถไฟความเร็วสูง มันจะไม่ช้าไปหรอ?