ความคิดเห็นจาก Expert Account
ความคิดเห็นที่ 4
ขอให้ทหารกองเกินที่จะต้องเข้ารับการตรวจเลือกทหารฯ ใน เดือน เมษายน ที่สงสัยว่าตนเองมีโรคที่น่าจะขัดต่อการรับราชการทหารกองประจำการ ไปเข้ารับการตรวจโรคก่อนการตรวจเลือก ณ โรงพยาบาลทหารตามที่กองทัพบกกำหนด ไว้ จำนวน ๒๐ แห่ง ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม - ๒๐ กุมภาพันธ์ ซึ่งโรงพยาบาลจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคไว้เป็นการเฉพาะ และทำให้ทหารกองเกิน ทราบล่วงหน้าก่อนวันทำการตรวจเลือกว่าเป็นโรคที่ขัดต่อการรับราชการทหารหรือไม่
โรคที่ควรไปเข้ารับการตรวจ ได้แก่ โรคที่เกี่ยวกับความผิดปกติของ ตา , หู , โรคหัวใจและหลอดเลือด , โรคเลือดและอวัยวะสร้างเลือด , โรคของระบบหายใจ , โรคของระบบปัสสาวะ , โรคหรือความผิดปกติของกระดูก , ข้อ และกล้ามเนื้อ , โรคของต่อมไร้ท่อ และภาวะผิดปกติของเมตะบอลิสัม ,โรคติดเชื้อ , โรคทางประสาทวิทยา , โรคทางจิตเวช และโรคอื่น ๆ เช่น ตับแข็ง เป็นต้น
สามารถขอรับการตรวจโรคจากโรงพยาบาลที่กำหนด โดยไม่จำกัดภูมิลำเนาทหาร
เอกสารและหลักฐานที่ใช้
1. หมายเรียกเข้ารับราชการทหาร (แบบ สด.35)
2. ใบสำคัญ (แบบ สด.9)
3. วุฒิการศึกษา ที่ลงวันจบการศึกษาก่อนวันตรวจเลือกฯ (ใช้สำหรับ ลดวันรับราชการ ทั้งในกรณีที่สมัคร และจับสลาก)
(วุฒิการศึกษาต้องเป็นภาษาไทย หรือได้รับการแปลจากมหาวิทยาลัย โดยมีการระบุวันที่จบการศึกษา ชัดเจน)
4. บัตรประชาชน
5. ใบรับรองแพทย์ โดย รพ.ของรัฐหรือ รพ.ทหาร (ในกรณีที่ได้ทำการตรวจโรคก่อนการตรวจเลือกฯ)
6. หลักฐานอื่นๆ (ถ้ามี) เช่น หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว – ชื่อสกุล ฉบับจริงพร้อมสำเนา
****ให้ไปแสดงตนต่อคณะกรรมการตรวจเลือกฯ ณ อำเภอภูมิลำเนาทหาร ตามที่หมายเรียก(แบบ สด.35) ได้กำหนดไว้ โดยพร้อมเพรียงกัน หากไม่ไปแสดงตนต่อคณะกรรมการตรวจเลือกฯ ท่านจะมีความผิดตาม พ.ร.บ.รับราชการทหาร พ.ศ.2497 และถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย
ระยะเวลาเปิดให้บริการ
เปิดให้บริการวัน จันทร์ ถึง วันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการกำหนด) ตั้งแต่เวลา 08:00 - 12:00 น.
สามารถเข้าตรวจได้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม - 20 กุมภาพันธ์ โดย ต้องออกค่าใช้จ่ายในการตรวจโรคเอง ไม่เสียค่าธรรมเนียมพิเศษ (ยกเว้นกรณีที่ต้องตรวจพิเศษเพิ่มเติม)
ให้นำใบสำคัญความเห็นแพทย์ ไปแสดงต่อคณะกรรมการตรวจเลือกในวันตรวจเลือกฯ เพราะ คณะกรรมการตรวจเลือกฯ จะพิจารณาหลักฐานใบสำคัญความเห็นแพทย์ที่ปรากฏในบัญชีรายชื่อทหารกองเกินที่เข้ารับการตรวจโรคฯ ซึ่งได้รับรายงานจากกรมแพทย์ทหารบก เท่านั้น
.................................
โรคหรือสภาพร่างกายหรือสภาพจิตใจ ซึ่งจะ ไม่สามารถจะรับราชการทหารได้ ตามมาตรา 41
https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=cmu2807&date=10-04-2009&group=7&gblog=22
ขอให้ทหารกองเกินที่จะต้องเข้ารับการตรวจเลือกทหารฯ ใน เดือน เมษายน ที่สงสัยว่าตนเองมีโรคที่น่าจะขัดต่อการรับราชการทหารกองประจำการ ไปเข้ารับการตรวจโรคก่อนการตรวจเลือก ณ โรงพยาบาลทหารตามที่กองทัพบกกำหนด ไว้ จำนวน ๒๐ แห่ง ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม - ๒๐ กุมภาพันธ์ ซึ่งโรงพยาบาลจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคไว้เป็นการเฉพาะ และทำให้ทหารกองเกิน ทราบล่วงหน้าก่อนวันทำการตรวจเลือกว่าเป็นโรคที่ขัดต่อการรับราชการทหารหรือไม่
โรคที่ควรไปเข้ารับการตรวจ ได้แก่ โรคที่เกี่ยวกับความผิดปกติของ ตา , หู , โรคหัวใจและหลอดเลือด , โรคเลือดและอวัยวะสร้างเลือด , โรคของระบบหายใจ , โรคของระบบปัสสาวะ , โรคหรือความผิดปกติของกระดูก , ข้อ และกล้ามเนื้อ , โรคของต่อมไร้ท่อ และภาวะผิดปกติของเมตะบอลิสัม ,โรคติดเชื้อ , โรคทางประสาทวิทยา , โรคทางจิตเวช และโรคอื่น ๆ เช่น ตับแข็ง เป็นต้น
สามารถขอรับการตรวจโรคจากโรงพยาบาลที่กำหนด โดยไม่จำกัดภูมิลำเนาทหาร
เอกสารและหลักฐานที่ใช้
1. หมายเรียกเข้ารับราชการทหาร (แบบ สด.35)
2. ใบสำคัญ (แบบ สด.9)
3. วุฒิการศึกษา ที่ลงวันจบการศึกษาก่อนวันตรวจเลือกฯ (ใช้สำหรับ ลดวันรับราชการ ทั้งในกรณีที่สมัคร และจับสลาก)
(วุฒิการศึกษาต้องเป็นภาษาไทย หรือได้รับการแปลจากมหาวิทยาลัย โดยมีการระบุวันที่จบการศึกษา ชัดเจน)
4. บัตรประชาชน
5. ใบรับรองแพทย์ โดย รพ.ของรัฐหรือ รพ.ทหาร (ในกรณีที่ได้ทำการตรวจโรคก่อนการตรวจเลือกฯ)
6. หลักฐานอื่นๆ (ถ้ามี) เช่น หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว – ชื่อสกุล ฉบับจริงพร้อมสำเนา
****ให้ไปแสดงตนต่อคณะกรรมการตรวจเลือกฯ ณ อำเภอภูมิลำเนาทหาร ตามที่หมายเรียก(แบบ สด.35) ได้กำหนดไว้ โดยพร้อมเพรียงกัน หากไม่ไปแสดงตนต่อคณะกรรมการตรวจเลือกฯ ท่านจะมีความผิดตาม พ.ร.บ.รับราชการทหาร พ.ศ.2497 และถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย
ระยะเวลาเปิดให้บริการ
เปิดให้บริการวัน จันทร์ ถึง วันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการกำหนด) ตั้งแต่เวลา 08:00 - 12:00 น.
สามารถเข้าตรวจได้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม - 20 กุมภาพันธ์ โดย ต้องออกค่าใช้จ่ายในการตรวจโรคเอง ไม่เสียค่าธรรมเนียมพิเศษ (ยกเว้นกรณีที่ต้องตรวจพิเศษเพิ่มเติม)
ให้นำใบสำคัญความเห็นแพทย์ ไปแสดงต่อคณะกรรมการตรวจเลือกในวันตรวจเลือกฯ เพราะ คณะกรรมการตรวจเลือกฯ จะพิจารณาหลักฐานใบสำคัญความเห็นแพทย์ที่ปรากฏในบัญชีรายชื่อทหารกองเกินที่เข้ารับการตรวจโรคฯ ซึ่งได้รับรายงานจากกรมแพทย์ทหารบก เท่านั้น
.................................
โรคหรือสภาพร่างกายหรือสภาพจิตใจ ซึ่งจะ ไม่สามารถจะรับราชการทหารได้ ตามมาตรา 41
https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=cmu2807&date=10-04-2009&group=7&gblog=22
แสดงความคิดเห็น
เรื่อง เกณฑ์ทหาร จะต้องจับไหมผมเคยรถล้มขาหักแต่ถอดเหล็กแล้วเลยข้อขาไม่ได้มาก
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้