คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 6
การจดทะเบียนสมรสมันมีผลมากกว่าแค่ประมวลกฎหมายแพ่ง
ถ้าแก้ 1448 ก็ต้องแก้อีกหลายมาตรา แค่ตัวอย่างที่ ความเห็น 4 ยกมาก็วุ่นวายแล้ว ทั้งยังโยงประมวลกฎหมายอาญา เช่น การฆ่าบุพการี การลักทรัพย์ระหว่างพ่อแม่ลูก หรือแม้กระทั่งการล่วงเกินทางเพศผู้สืบสายโลหิต คนที่เป็นนักกฎหมายจริงๆ ไม่สนับสนุนหรอก อย่าเอาพวกนักการเมืองมาเป็นบรรทัดฐานที่แค่ต้องการพื้นที่สื่อ แต่ตรรกะบ้าๆ บอๆ เรียกคะแนนสาวก
ลองไปถามบรรดาอาจารย์ที่สอนกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัวมรดกดู มันโยงกฎหมายอาญาด้วย
มันไม่เกี่ยวกับความเป็น elite กำแพงชนชั้นอะไรทั้งนั้น พวกอ้างแบบนี้คือเพ้อเจ้อ ประสาท....บ้าการเมืองจนขึ้นสมอง
เพราะฉะนั้น พรบ คู่ชีวิตมันคือทางออก มันสามารถอนุโลมเอามาตราใน บรรพ 5 บรรพ 6 ของประมวลกฎหมายแพ่งมาใช้ได้
ถ้าแก้ 1448 ก็ต้องแก้อีกหลายมาตรา แค่ตัวอย่างที่ ความเห็น 4 ยกมาก็วุ่นวายแล้ว ทั้งยังโยงประมวลกฎหมายอาญา เช่น การฆ่าบุพการี การลักทรัพย์ระหว่างพ่อแม่ลูก หรือแม้กระทั่งการล่วงเกินทางเพศผู้สืบสายโลหิต คนที่เป็นนักกฎหมายจริงๆ ไม่สนับสนุนหรอก อย่าเอาพวกนักการเมืองมาเป็นบรรทัดฐานที่แค่ต้องการพื้นที่สื่อ แต่ตรรกะบ้าๆ บอๆ เรียกคะแนนสาวก
ลองไปถามบรรดาอาจารย์ที่สอนกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัวมรดกดู มันโยงกฎหมายอาญาด้วย
มันไม่เกี่ยวกับความเป็น elite กำแพงชนชั้นอะไรทั้งนั้น พวกอ้างแบบนี้คือเพ้อเจ้อ ประสาท....บ้าการเมืองจนขึ้นสมอง
เพราะฉะนั้น พรบ คู่ชีวิตมันคือทางออก มันสามารถอนุโลมเอามาตราใน บรรพ 5 บรรพ 6 ของประมวลกฎหมายแพ่งมาใช้ได้
สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
ความคิดเห็น บังคับกันไม่ได้
โอเค รสนิยม การแสดงออกทางเพศ เป็นสิทธิส่วนบุคคล ยอมรับ
แต่ความเห็นส่วนตัวของผม คู่รัก LGBT อย่างไรก็คือ คู่รัก LGBT ไม่ใช่คู่รักชายหญิง
กฎหมายพรบ คู่ชีวิต ให้สิทธิคู่ชีวิตในการผูกนิติสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ก็เหมาะสมและเพียงพอสำหรับคน 2 คนที่มีแนวคิดตรงกันแล้ว
สมรสเท่าเทียม คือกฎหมายบังคับให้ทุกคนในสังคม ต้องเชื่อและต้องยอมรับว่าคนสองคนเพศเดียวกันสมรสกัน เสมือนหนึ่งการสมรสระหว่างชายหญิง
เป็นการบังคับเชื่อโดยกฎหมาย
เหมือนการเรียกร้องสิทธิ์ของกลุ่ม LGBT กำลังกดขี่เสรีภาพทางความคิดของในสังคมหรือไม่
ติดไว้เป็นคำถาม
โอเค รสนิยม การแสดงออกทางเพศ เป็นสิทธิส่วนบุคคล ยอมรับ
แต่ความเห็นส่วนตัวของผม คู่รัก LGBT อย่างไรก็คือ คู่รัก LGBT ไม่ใช่คู่รักชายหญิง
กฎหมายพรบ คู่ชีวิต ให้สิทธิคู่ชีวิตในการผูกนิติสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ก็เหมาะสมและเพียงพอสำหรับคน 2 คนที่มีแนวคิดตรงกันแล้ว
สมรสเท่าเทียม คือกฎหมายบังคับให้ทุกคนในสังคม ต้องเชื่อและต้องยอมรับว่าคนสองคนเพศเดียวกันสมรสกัน เสมือนหนึ่งการสมรสระหว่างชายหญิง
เป็นการบังคับเชื่อโดยกฎหมาย
เหมือนการเรียกร้องสิทธิ์ของกลุ่ม LGBT กำลังกดขี่เสรีภาพทางความคิดของในสังคมหรือไม่
ติดไว้เป็นคำถาม
แสดงความคิดเห็น
พรบ คู่ชีวิต VS พรบ สมรสเท่าเทียม
สมรสเท่าเทียม จะแก้ จาก ชายหญิง เป็น บุคคล 2 คน
พอไม่มี ชายหญิง จะเพศไหน ก็ ใช้สิทธิได้เหมือนกัน
คู่ชีวิต จะเพิ่ม กฏหมายใหม่
เนื้อหา จะเหมือน หรือ ต่างจาก สมรส ชายหญิง ก็ได้
แล้วแต่การออกกฎหมาย ในรายละเอียด
ข้อดี สมรสเท่าเทียม
ง่าย ไม่ต้องออก กฎหมายใหม่ แค่เปลี่ยน กฎหมายเก่า
จากสมรส ชายหญิง เป็น บุคคล 2 คน จบเลย
ข้อเสีย
แก้ให้ ต่างจาก ชาย หญิง ไม่ได้ เพราะ กฎหมาย เดียวกัน
จะเพิ่มเงื่อนไข ข้อจำกัด หรืออื่นๆ ไม่ได้
ข้อดี คู่ชีวิต
เป็น กฏหมายคนล่ะ ฉบับ จะเปลี่ยนให้ต่างกันก็ได้
หรือ เหมือนกัน ก็ได้ จะเพิ่ม เงื่อนไข ต่างๆ ก็ได้
ข้อเสีย
เป็นความรู้สึก ว่า ไม่เท่าเทียม
มีช่องให้ แก้ให้ไม่เท่ากัน
ส่วนตัว ผมอยากให้ไป พรบ คู่ชีวิต มากกว่า เพราะ สะดวกแก้ไข กำหนดเงื่อนไขแยก
เช่น การรับ บุตรบุญธรรม
ถ้าเป็น คู่รัก ชายชาย หญิงหญิง ควรเพิ่ม การคุย หรือ สอบ จิตวิทยาเด็กเพิ่มไหม
หรือ เงื่อนไข เพิ่มเพื่อการดูแล เด็กได้ อย่างเหมาะสม
แต่ คู่รัก ชายหญิง อาจไม่ต้องมีตรงนี้
ถ้า สมรสเท่าเทียม เราจะ แก้ ให้ไม่เหมือนกัน ไม่ได้เลย
ปล จะใส่ให้ เหมือนหรือไม่เหมือนกัน ก็ได้ คู่ชีวิต จะสะดวกกว่า สมรสเท่าเทียม
อนาคตจะแก้ไข ได้ง่าย แต่ถ้ายังอยากให้เหมือนกันทุกอย่าง ก็ทำได้